Page 36 - Full paper สอฉ.3-62
P. 36
แสงอาทิตย์แบบอุโมงค์ มีโครงสร้างประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก สะสมความร้อนเทียบกับการตากแดด ซึ่งผลิตภัณฑ์จะถูกเรียง
คือ ตัวเก็บรังสีอาทิตย์(Solar collector) และห้องอบแห้ง ตากบนตะแกรงสแตนเลสในห้องอบแห้งผลิตภัณฑ์ เดินเครื่อง
ผลิตภัณฑ์(Dryer) ซึ่งจะถูกสร้างให้ต่ออนุกรมกัน ด้านบนครอบ อบแห้งด้วยอัตราไหลของอากาศ 0.1 0.2 และ 0.3 กิโลกรัมต่อ
ด้วยแผ่นปิดท าจากกระจกใสหนา 3 มิลลิเมตร ท าเป็นอุโมงค์ วินาที เพื่อหาค่าอัตราไหลของอากาศที่เหมาะสม ลดความชื้น
ตลอดความยาวของทั้งสองส่วน หน้าตัดอุโมงค์เป็ นรูป ผลิตภัณฑ์จากความชื้นเริ่มต้น 3.10 (เศษส่วนมาตรฐานแห้ง) ให้
สามเหลี่ยม มีขนาดพื้นที่หน้าตัดเท่ากับ 0.30 ตารางเมตร เหลือ 0.26 (เศษส่วนมาตรฐานแห้ง) ส าหรับผลิตภัณฑ์หนังปลา
ส่วนสูงของหน้าจั่วเท่ากับ 20 เซนติเมตร การเคลื่อนที่ของ นวลจันทร์แดดเดียว และจากความชื้นเริ่มต้น 2.34 (เศษส่วน
อากาศผ่านตัวเก็บรังสีอาทิตย์และห้องอบแห้งโดยใช้พัดลมดูด มาตรฐานแห้ง) ให้เหลือ 0.75 (เศษส่วนมาตรฐานแห้ง) ส าหรับ
อากาศที่ติดตั้งอยู่ด้านท้ายของเครื่องอบแห้ง พัดลมได้รับ ผลิตภัณฑ์เนื้อหมูแดดเดียว ท าการวัดอุณหภูมิตามจุดต่างๆ
พลังงานไฟฟ้าจากเซลแสงอาทิตย์ ขนาด 200 วัตต์ ติดตั้งอยู่ ภายในเครื่องอบโดยใช้เทอร์โมคัปเปิ ลชนิด K การวัดค่า
ด้านข้างของเครื่องอบแห้งฯ โดยหันแผงเซลแสงอาทิตย์ไป พลังงานแสงอาทิตย์จะใช้เครื่องวัดรังสีอาทิตย์(EKO รุ่น MS-
ทางด้านทิศใต้ ตัวเก็บรังสีอาทิตย์มีพื้นที่รับแสงขนาด 6.6 ตาราง 802)ต่อเข้ากับเครื่องบันทึกข้อมูล(YOKOKAWA รุ่น MX100)
เมตร ประกอบด้วยแผ่นดูดกลืนรังสีอาทิตย์ท าจากเหล็กแผ่น และการวัดความเร็วลมจะใช้เครื่องวัดแบบลวดความร้อน
หนา 1.0 มิลลิเมตร ทาสีด าด้านบน ด้านล่างของแผ่นดูดกลืน (TESTO รุ่น 445) เพื่อเป็ นข้อมูลในการประเมินพลังงาน
รังสีอาทิตย์ บรรจุทรายหนา 2.5 เซนติเมตร ท าหน้าที่เก็บสะสม จากนั้นหาต้นทุนการอบแห้งเพื่อหาระยะการคืนทุน
ความร้อน ส าหรับห้องอบแห้งมีขนาดพื้นที่เท่ากับ 4.5 ตาราง 2.3 ผลการทดลองและวิจารณ์
เมตรประกอบด้วยตะแกรงสแตนเลสส าหรับวางผลิตภัณฑ์
จ านวน 4 ตะแกรง โดยชุดตะแกรงสแตนเลสนี้ สามารถเลื่อน สมรรถนะการอบแห้งและการใช้พลังงาน
เข้าออกได้ เพื่อความสะดวกในการตากและเก็บผลิตภัณฑ์ การอบแห้งเนื้อหมู สามารถอบแห้งได้ครั้งละ 20 กิโลกรัม
ตัวเครื่องอบแห้งฯ จะวางอยู่ในแนวนอน สูงจากระดับพื้นดิน ลดความชื้นผลิตภัณฑ์จากความชื้นเริ่มต้น 2.34 (เศษส่วน
0.8 เมตร ในทิศทางตะวันออก-ตะวันตก โดยตัวเก็บรังสีอาทิตย์ มาตรฐานแห้ง) ให้เหลือ 0.75 (เศษส่วนมาตรฐานแห้ง) ด้วย
จะอยู่ทางทิศตะวันออก [2] ดังแสดงในรูปที่ 1 อัตราการไหลของอากาศขนาด 0.1 0.2 0.3 กิโลกรัมต่อวินาที
และการตากแดด พบว่าจะใช้ต้องเวลาในการอบแห้ง 250 215
190 และ 370 นาที ตามล าดับ ดังแสดงในรูปที่ 2 และ
ประสิทธิภาพของการอบแห้งที่อัตราไหลของอากาศขนาด 0.1
0.2 0.3 กิโลกรัมต่อวินาที เท่ากับ 33.03% 33.07% และ 33.57%
ตามล าดับ
รูปที่ 1 ขนาดของอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอุโมงค์และ
ต าแหน่งของการวัดค่าความเร็วลม
2.2 การประเมินพลังงานและระยะเวลาการคืนทุนส าหรับการ
อบแห้ง
การทดสอบสมรรถนะของระบบ จะท าการอบแห้งด้วย รูปที่ 2 ค่าความชื้นของเนื้อหมูในช่วงเวลาการอบแห้ง
เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอุโมงค์ชนิดที่มีวัสดุ ในแต่ละอัตราการไหลของอากาศ
2
18