Page 611 - Full paper สอฉ.3-62
P. 611

3.เพื่อศึกษาพฤติกรรมการออมเพื่อใช้จ่ายใน งานประจ า งานอดิเรก เป็ นต้น โดยปัจจัยที่เป็ น

             อนาคตของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษา ตัวก าหนดรายได้ของแต่ละบุคคล
             ขอนแก่น                                                   2.ค่าใช้จ่าย เป็นปัจจัยส าคัญอันหนึ่งในการ

                                                               ก าหนดขีดความสามารถในการออม เพราะหากบุคคลใด

             3. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง                       มีค่าใช้จ่ายเงินที่เหลือจากรายได้ เพื่อน าไปออมก็จะลด

                     ผู้วิจัยได้ทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับหลักการและ น้อยลง
             แนวคิดว่าด้วยปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออมเพื่อใช้       3.สถาบันการลงทุน สถาบันให้บริการที่มีความ

             จ่ายในอนาคตของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษา มั่นคงสูง ก็จะเป็นแรงจูงใจให้มีผู้ออมมากขึ้น

             ขอนแก่น เพื่อเป็นกรอบแนวคิดของการศึกษาครั้งนี้            4.อัตราดอกเบี้ย ถาหากอัตราดอกเบี้ยเงินฝากสูง ก็
             ประกอบไปด้วยแนวคิดทฤษฎี ละจากงานวิจัยที่ จะเป็นแรงจูงใจให้ผู้บริโภคลดการใช้จ่ายลง และน าเงิน

             เกี่ยวข้องมาประยุกต์เป็นกรอบแนวความคิดในการวิจัย มากออมทรัพย์มากขึ้น

             ดังนี้                                                    5.โอกาสในการลงทุน ถ้ามีโอกาสในการลงทุน
                     วเรศ  อุปปาติก (2544) กล่าวว่า ทฤษฎีความ และการลงทุนนั้นให้ผลตอบแทนดีก็จะเป็นการจูงใจให้

             ต้องการถือเงินของ Milton Friedman อธิบายไว้ในปี   มีการออมมากขึ้น

             1968 ได้พัฒนามาจากแนวคิดของนักทฤษฎีปริมาณเงิน             6.ขนบธรรมเนียมประเพณีบางอย่างมีอิทธิพลต่อ
             ของส านักเคมบริดจ์ซึ่งอธิบายปัจจัยที่ก าหนดความ การใช้จ่ายและการออมทรัพย์ได้มากเหมือนกันเช่น งาน

             ต้องการถือเงินโดยมองว่าเงินเป็ นสิ่งที่ก่อให้เกิด บวชนาค งานศพ งานแต่งงาน ในบางท้องที่มีการแข่งขัน

             อรรถประโยชน์ (Utility) บุคคลมีอุปสงค์ต่อเงินเพราะ กันมาก ท าให้เกิดการใช้จ่ายเงินที่เก็บออมมาหลายปีจน

             เห็นว่าเงินจะก่อให้เกิดอรรถประโยชน์ขึ้นได้พฤติกรรม หมด บางรายถึงกับต้องมีหนี้สินไปอีกนาน
             การเลือกถือเงินของบุคคลเป็นสัดส่วนโดยตรงกับรายได้         สุวีณา  กลัดเกิด (2551) กล่าวว่า แนวคิดเกี่ยวกับ

             ที่เป็นตัวเงินและมีบางส่วนมีความคิดคล้ายกับ John  ปัจจัยที่มีผลต่อการออมของบุคคลจากงานวิจัยในอดีต

             Maynard Keynes ที่เรียกว่าทฤษฎีความพอใจสภาพ พบว่า ปัจจัยที่มีความสอดคล้องกับการศึกษาพฤติกรรม

             คล่อง (Liquidity Preference Theory) ซึ่งอธิบายความ การออม ดังนี้
             ต้องการถือเงินของบุคคลออกเป็น 3 ประการคือ                 1.รายได้ รายได้ใช้จ่ายจริงหลักหักภาษีแล้วเป็น

                     1.ความต้องการการถือเงินไว้เพื่อใช้สอยใน ปัจจัยส าคัญในการก าหนดการออม ของบุคคลเพราะเงิน

             ชีวิตประจ าวัน                                    ออมก็ คือ รายได้หลังจากที่ได้จับจ่ายใช้สอยไปเพื่อการ
                     2.ความต้องการการถือเงินเพื่อใช้จ่ายยามฉุกเฉิน   บริโภคแล้ว

                     3.ความต้องการการถือเงินเพื่อเกร็งก าไร            2.การบริโภค เป็นปัจจัยโดยตรงที่มีผลต่อการออม

                     บุญรุ่ง  จันทร์นาค (2554) กล่าวว่า ปัจจัยที่มีผลต่อ เพราะการออมเกิดจากรายได้ที่เหลือจากการบริโภคหาก
             การออม ประกอบไปด้วยดังนี้                         บุคคลมีการบริโภคมากก็จะมีเงินเหลือเพื่อเก็บออม

                     1.รายได้ เป็นปัจจัยส าคัญที่ท าให้เกิดการออม  น้อยลง

             เพราะผู้มีรายได้ย่อมมีเงินเหลือและออมได้มากกว่าผู้ที่       3.อัตราดอกเบี้ย เป็นผลตอบแทนจากการน าเงิน
             ไม่มีรายได้ โดยแหล่งของรายได้มาจากหลายทาง เช่น  ไปฝากไว้กับสถาบันการเงิน หากมี อัตราดอกเบี้ยสูงก็จะ


                                                               3
                                                                                                              593
   606   607   608   609   610   611   612   613   614   615   616