Page 606 - Full paper สอฉ.3-62
P. 606

ได้ข้อมูลที่มีความเที่ยง (Validity) และน่าเชื่อถือ (Reliability)  ได้ก าหนดไว้คือ 80/80 ซึ่งสอดคล้องกับ ชัยยงค์ พรหมวงศ์
             มากขึ้น                                          (2555, หน้า 490) กล่าวว่า การทดสอบประสิทธิภาพของแบบ

                    5.4.2 การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ฝึกเป็นการน าแบบฝึกไปทดลองใช้เพื่อปรับปรุงแก้ไขให้มี
             มาตรฐานรายปัจจัย ก่อนการเรียนรู้ ระหว่างการเรียนรู้ และ  ประสิทธิภาพ แล้วน าไปทดสอบจริง หลังจากนั้นน าผลที่ได้มา

             หลังการเรียนรู้                                  ปรับปรุงแก้ไชแล้วจึงผลิตออกมาเป็นจ านวนมาก ก่อนที่จะ
                    5.4.3 การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ของ  น าไปใช้ผู้สอนต้องมั่นใจว่า แบบฝึกนั้นมีประสิทธิภาพในการ
             ผู้เรียน ก่อนและหลังเรียนโดยใช้การเรียนแบบกลุ่มร่วมมือ   ช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จริง ทั้งนี้เพราะแบบฝึกจะช่วย

                5.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล           สร้างสมรรถภาพการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเปลี่ยนพฤติกรรมไป
                สถิติเชิงพรรณนา  โดยใช้สถิติในการกระจายจ านวนและ  ตามที่ผู้สอนมุ่งหวังไว้
             อัตราส่วนร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบน     7.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนเรียนและ

             มาตรฐาน (Standard Deviation) และ t-test          หลังเรียนวิชาการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ โดยการใช้
                                                              การเรียนแบบกลุ่มร่วมมือ จากการวิจัยพบว่าคะแนนของ
             6.  ผลการวิจัย                                   แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) มีค่าเฉลี่ย 3.18 ส่วนเบี่ยงเบน

                จากการศึกษาเพื่อหาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและ   มาตรฐาน 1.83 และคะแนนของแบบทดสอบหลังเรียน (Post -
             พฤติกรรมการท างานกลุ่ม ควบคู่กับการฝึกปฏิบัติ โดยใช้การ  test) มีค่าเฉลี่ย 4.83 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.75 สรุปได้ว่า

             เรียนแบบกลุ่มร่วมมือของนักศึกษาในรายวิชาการสื่อสาร  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากเรียนโดยใช้การเรียนแบบกลุ่ม
             การตลาดแบบบูรณาการ โดยสรุปได้ดังนี้              ร่วมมือในการเรียนรายวิชาการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ
                    6.1 ประสิทธิภาพของบทเรียนในการสอนรายวิชา  ผลคะแนนเฉลี่ยหลังการเรียน สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน

             การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ โดยคะแนนเฉลี่ยของ   อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับ สาขาวิชา
             ประชากรที่ได้เรียน โดยการใช้การเรียนแบบกลุ่มร่วมมือ ได้  อุตสาหกรรมท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราช
             คะแนนเฉลี่ยจากการท าแบบฝึ กหัดระหว่างเรียน และ   ภัฎล าปาง พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถใน

             แบบทดสอบท้ายบทเรียน คือ 83.50/95.00 สูงกว่าเกณฑ์ที่ได้ การท างานร่วมกับผู้อื่นของนักศึกษา ชั้นปีที่ 3 โดยใช้การเรียน
             ก าหนดไว้คือ 80/80                               แบบกลุ่มร่วมมือ ในวิชาการตลาดเพื่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว
                    6.2 การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนและ  ระหว่างเรียนผู้วิจัยให้นักศึกษาท าแบบทดสอบก่อนและหลัง

             พฤติกรรมการท างานกลุ่ม ก่อนเรียนและหลังเรียนรายวิชาการ  เรียน ประเมินการปฏิบัติการทดลองและการน าเสนอผลงาน
             สื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ โดยการใช้การเรียนแบบกลุ่ม  หน้าชั้นเรียน ท าแบบทดสอบย่อยในแต่ละหัวข้อ สัมภาษณ์

             ร่วมมือ วิเคราะห์ข้อมูลหาค่า t-test แบบ Dependent Sample ผล  อย่างไม่เป็นทางการ นักศึกษาประเมินตนเองและเพื่อนในการ
             คะแนนเฉลี่ยหลังการเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนอย่างมี  ท างานเป็นกลุ่ม และท าสังคมมิติเกี่ยวกับการท างานกลุ่มก่อน
             นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05                    และหลังการเรียนแบบกลุ่มร่วมมือ ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษา

                                                              ที่มีคะแนนหลังเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 มีจ านวนเพิ่มขึ้นจาก
             7.  อภิปรายผล                                    8 คนเป็น 43 คน แตกต่างจากคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญ

                ผลการวิจัยครั้งนี้มีประเด็นที่ควรน ามาอภิปราย ดังต่อไปนี้   ทางสถิติที่ระดับ .01 นักเรียนมีทักษะปฏิบัติการ ทักษะการ
                    7.1 ประสิทธิภาพของบทเรียนในการสอนรายวิชา  น าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และมีคะแนนทดสอบท้ายคาบ
             โปรแกรมส าเร็จรูปทางสถิติเพื่องานวิจัย โดยคะแนนเฉลี่ยของ  เรียนที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง

             ประชากรที่ได้เรียน โดยการใช้กระบวนการกลุ่มควบคู่กับการ
             ฝึกปฏิบัติได้คะแนนเฉลี่ยจากการท าแบบฝึกหัดระหว่างเรียน
             และแบบทดสอบท้ายบทเรียน คือ 83.50/95.00 สูงกว่าเกณฑ์ที่



                                                              4
                                                                                                              588
   601   602   603   604   605   606   607   608   609   610   611