Page 605 - Full paper สอฉ.3-62
P. 605
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 4. วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1.1 ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมการท างาน การวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและ
กลุ่มควบคู่กับการฝึกปฏิบัติ โดยใช้การเรียนแบบกลุ่มร่วมมือ พฤติกรรมการท างานกลุ่ม ควบคู่กับการฝึกปฏิบัติ โดยใช้การ
ในการส่งเสริมความรู้ เกี่ยวกับการสื่อสารการตลาดแบบบูรณา เรียนแบบกลุ่มร่วมมือของนักศึกษาในรายวิชาการสื่อสาร
การ การตลาดแบบบูรณาการ วิทยาลัยอาชีวศึกษาร้อยเอ็ด ใช้แนวคิด
1.2 ศึกษาระดับความรู้ ทักษะการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการ ทฤษฎี การศึกษาวิจัย และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ แนวคิด
สื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ก่อนเรียน ระหว่างเรียน เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน (มาลี จุฑา, 2554, หน้า 80)
หลังเรียน ด้วยการใช้การเรียนแบบกลุ่มร่วมมือ แนวคิดเกี่ยวกับการแบบฝึกปฏิบัติ (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2525,
1.3 ศึกษาพัฒนาการด้านความรู้ ทักษะการฝึกปฏิบัติ หน้า 490) แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนแบบกลุ่มร่วมมือ (อารี สัณห
เกี่ยวกับการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการก่อนเรียนและ ฉวี 2543 : 33) แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนแบบกลุ่มร่วมมือ สลาวิน
หลังเรียน ด้วยการใช้การเรียนแบบบร่วมมือ (Slavin. 2009 : 2 – 7) แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นส าคัญ (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. นิยามศัพท์ , 2553)
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถ
ในการเรียนของนักศึกษา ในรายวิชาการสื่อสารการตลาด 5. วิธีด าเนินการวิจัย
แบบบูณาการ ซึ่งวัดได้จากคะแนนจากการท าแบบทดสอบ 5.1 ประชากร
ก่อนและหลังเรียน แบบทดสอบย่อย ในแต่ละหัวข้อ แบบ นักศึกษา สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 1 ที่ลงทะเบียน
ประเมินการปฏิบัติการทดลอง และแบบประเมินการน าเสนอ เรียนในรายวิชาการสื่อการการตลาดแบบบบูรณาการ ในภาค
ผลงานหน้าชั้นเรียน เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จ านวน 10 คน
ความสามารถในการท างานร่วมกับผู้อื่นได้ หมายถึง 5.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
พฤติกรรมการเรียนในการท างานกลุ่ม ได้แก่การช่วยเหลือกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยใช้
มีความรับผิดชอบ การแสดงความคิดเห็น รับฟังความคิดเห็น แบบฝึกปฏิบัติ แบบบันทึก การสร้างงาน ผลลัพธ์ จากการ
และสามารถระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองในการท างาน เรียนรู้ที่ได้จากการฝึกปฏิบัติทุกครั้ง โดยมีแบบการประเมินการ
ร่วมกับเพื่อนในกลุ่มได้ ตั้งแต่วางแผนการท างาน การด าเนิน เรียนรู้จากการส่งงานกลุ่มแต่ละครั้ง
ตามแผนที่วางไว้ ตลอดจนการน าเสนอผลงาน ซึ่งสามารถ 5.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ตรวจสอบได้ โดยการสัมภาษณ์ แบบประเมินตนเองและเพื่อน 5.3.1 การศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพ การฝึ กปฏิบัติ
ในกลุ่มในการท างานเป็นกลุ่ม และแผนภาพสังคมมิติ การทดสอบ และการแจ้งผลการประเมิน โดยใช้แบบบันทึก
การเรียนแบบกลุ่มร่วมมือ หมายถึง วิธีการเรียน เพื่อบันทึกงานรายบุคคล รายกลุ่ม และท าการสรุปแผนการ
ที่ส่งเสริมนักเรียนได้ร่วมมือกันในการเรียนเพื่อช่วยให้เกิดการ ด าเนินการของกลุ่มเพื่อน าไปปรับใช้ในการเรียนรู้ต่อไปของ
เรียนรู้และสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข โดยเน้น รายวิชา
รูปแบบการต่อบทเรียน (Jigsaw) และการศึกษาค้นคว้าเป็นกลุ่ม 5.3.2 สรุปเป็นองค์ความรู้
(Group Investigation) ที่มีการประเมินทั้งด้านปริมาณและ 5.3.3 จัดท ารายงานการวิจัย
คุณภาพ โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมินด้วย 5.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
5.4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้การ
ตรวจสอบด้วยการตรวจสอบแหล่งข้อมูลจากผู้เรียน ซึ่งเป็น
ผู้ให้ข้อมูลโดยตรงว่าข้อมูลที่ได้นั้นครบสมบูรณ์หรือไม่ โดย
3
587