Page 651 - Full paper สอฉ.3-62
P. 651

แนวคิดเกี่ยวกับการฝึกอาชีพและการนิเทศการศึกษา  วัฒนธรรม ประเพณีที่แตกต่าง พฤติกรรมบุคคลและองค์กร
             กับสถานประกอบการ                                 ความเห็นที่แตกต่างและความขัดแย้ง อย่างไรก็ตามในสถาน

                    ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2542) ได้อธิบายถึงการฝึก  ประกอบการก็ประกอบไปด้วยการปลีกย่อยที่มองเห็นได้
             อาชีพนั้นขึ้นอยู่กับความต้องการของบุคคลว่ามีความต้องการ  ชัดเจน

             ความถนัด ความสนใจ ความพอใจในอาชีพใด รวมทั้ง      งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
             ความสามารถ สติปัญญาของบุคคล นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับ         ชนินทร์  เลิศประภาภรณ์ (2554) ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ
             ความเหมาะสมของวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ความ  การตัดสินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาโททางการบัญชีพบว่า

             เจริญทางเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีท าให้อาชีพมีเพิ่มขึ้น และ  ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาโท มาก
             เปลี่ยนไปตามกาลสมัย ท าให้การประกอบอาชีพแตกต่างกัน  ที่สุดคือ ปัจจัยด้านสถาบันการศึกษา รองลงมาคือปัจจัย
             ออกไป สามารถแบ่งวิธีการฝึก เป็นการฝึกอย่างไม่เป็นแบบ  ทางด้านสังคม และปัจจัยทางด้าน ครอบครัวตามล าดับ ก่อน

             แผน  (Informal Apprentice Training) การฝึ กจากระบ บ  ตัดสินใจศึกษาต่อโครงการปริญญาโททางการบัญชีกลุ่ม
             อุตสาหกรรม (Industrialized Training) และ การฝึ กจาก  ตัวอย่างไม่มี ความสนใจที่จะสมัครสอบในโครงการอื่นเลย
             สถานศึกษา (Institutionalized Training)           และสนใจศึกษาในช่วงวันหยุดประจ าสัปดาห์ (วัน เสาร์ – วัน

                    ระบบความช่วยเหลือของสถานศึกษาและ          อาทิตย์) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบแบบสอบถามว่ามีความ
             ผู้ประกอบการ (Cooperative Education Program) เป็นการเรียน  สนใจจะศึกษาต่อในระดับ ปริญญาโททางการบัญชีที่

             ในสถานศึกษา ซึ่งอาจจะมีทั้งทฤษฎีและปฏิบัติรวมทั้งการ  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทราบข้อมูลการศึกษาต่อปริญญาโท
             ฝึกงานภาคปฏิบัติจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือธุรกิจทั้ง  ทางการ บัญชีจากเว็บไซต์ จะน ารายได้จากการประกอบอาชีพ
             เอกชนและรัฐบาลเป็นการฝึกความช านาญ               ของตนมาใช้จ่ายในระหว่างช่วงศึกษาต่อ และมีค่าเฉลี่ย

                    ระบบการฝึกระหว่างท างาน (On the Job Training)  แนวโน้มระดับปานกลางที่จะศึกษาต่อปริญญาโททางการบัญชี
             เป็นการฝึกโดยที่โรงงานอุตสาหกรรมหรือหน่วยงานธุรกิจ  ภายใน 1 – 2 ป ี ข้างหน้า นอกจากนั้นแล้วยังมีความคาดหวังว่า
             รับเข้าท างานแล้วหรืออยู่ในระหว่างทดลองการท างาน จัดให้  เมื่อส าเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทจะได้งาน ใหม่ที่ดีกว่า

             มีการฝึกงานระยะสั้น ขณะท างานตามลักษณะงานที่สถาน  เดิม
             ประกอบการต้องการให้ท า                                        นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.)
                      Glickman (1981) ให้ความคิดเกี่ยวกับการนิเทศว่า  สาขาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นที่ส าเร็จการศึกษา

             เป็นแนวความคิดเกี่ยวกับงานและหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการ  โดยส่วนใหญ่เลือกศึกษาต่อ แต่มีสถานศึกษาเพียงไม่กี่แห่งที่
             ปรับปรุงการเรียนการสอนซึ่งเป็นการสอนในเรื่องหลักสูตร  รับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.)โดยตรง

             การจัดครูเข้าสอน การจัดสื่อการสอนสิ่งอ านวยความสะดวก               จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาปัจจัยที่
             การเตรียมและพัฒนาครูรวมทั้งการประเมินผลการเรียนการ  ผลกต่อการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีหลักสูตร
             สอน                                              เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี (ต่อเนื่อง) วิทยาลัย

                    ทิ น โน  ขวัญ ดี  (2553) ได้อธิ บ ายถึ ง สถาน  อาชีวศึกษาขอนแก่น เพื่อเป็นข้อมูลส าหรับการจัดการศึกษา
             ประกอบการ คือ สถานที่ที่ประกอบการกิจการกิจกรรม ทั้งใน  และน าข้อมูลที่ได้มาเป็นแนวทางในการก าหนดนโยบายและ
             ภาคธุรกิจ ที่มุ่งหวังผลก าไรและภาครัฐที่มุ่งหวังการให้บริการ  วางแผนการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพสังคมและ

             สาธารณะ แต่โดยความมุ่งหวังทั้งของสองภาคส่วนต่างต้องการ  เศรษฐกิจ ปัญหาและความต้องการของนักศึกษาในการเลือก
             ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการประกอบการทั้งสิ้น ซึ่ง  ศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีได้ถูกต้องและมีความเหมาะสม
             ประกอบด้วยกลไกที่ซับซ้อนแตกต่างกันด้วยขนาดของกิจการ  ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร

             นั้น ๆ โดยทั่วไปในองค์กรใดก็ตาม มักประกอบด้วย ผู้บริหาร   ปรัชญา ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ในวิชาการบัญชี มี
             ผู้ปฏิบัติการ กระบวนการของกิจกรรม เทคโนโลยี สังคม  ความเข้าใจรู้ถึงบทบาทของการบัญชี มีสมรรถนะในการ



                                                              4
                                                                                                              633
   646   647   648   649   650   651   652   653   654   655   656