Page 777 - Full paper สอฉ.3-62
P. 777
ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางในรูปแบบต่าง ๆรวมถึงการเข้าถึง 2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ข้าวอินทรีย์
ข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชน จึงมีโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี อ าเภอแกด า จังหวัด
นวัตวิถี เกิดขึ้น บ้านหัวขัว หมู่ที่4 ต าบลแกด า อ าเภอแกด า มหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม เป็นอีกหนึ่งหมู่บ้านที่ได้รับการคัดเลือก 2.2 เพื่อประเมินคุณภาพและความคิดเห็นที่มีต่อการ
ให้เป็นชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ของจังหวัดมหาสารคาม ออกแบบยกระดับบรรจุภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ชุมชนท่องเที่ยว
และ มีข้าวอินทรีย์ซึ่งเป็นผลผลิตที่เกิดจากการ ท าเกษตร OTOP นวัตวิถี อ าเภอแกด า จังหวัดมหาสารคาม
อินทรีย์ ในชุมชน เป็นผลิตภัณฑ์ที่นักท่องเที่ยว ให้ความ 3. ขอบเขตการวิจัย
สนใจ แต่ยัง ไม่เป็นที่รู้จักมากพอ จึงเกิดการพัฒนายกระดับ 3.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ
บรรจุภัณฑ์ให้มีความสวยงามดึงดูดความสนใจ แก่ 3.1.1 ผู้ผลิตและจ าหน่ายข้าวอินทรีย์
นักท่องเที่ยวให้เกิดการซื้อ สร้างรายได้ให้ชุมชน และเพิ่มมูลค่า 3.1.2 กลุ่มผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานภาครัฐที่ส่งเสริม
ให้กับสินค้า ข้าวอินทรีย์ของบ้านหัวขัว รวมทั้งเป็นการ ผลิตภัณฑ์ชุมชน
ประชาสัมพันธ์การเข้าถึงข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชน 3.1.3 ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์
บรรจุภัณฑ์ถือว่ามีความส าคัญต่อการการเลือกซื้อสินค้า 3.1.4 บุคคลทั่วไปที่สนใจสินค้าข้าวอินทรีย์
ของผู้บริโภค มีบทบาทส าคัญมากต่อการแข่งขันทางการตลาด 3.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
ทั้งภายในและต่างประเทศ ซึ่งนับวันยิ่งมีบทบาทมากขึ้น 3.2.1 ผู้ผลิตและจ าหน่ายข้าวอินทรีย์ จ านวน 5 คน
บรรจุภัณฑ์ที่สวยงาม ได้มาตรฐาน และทันสมัยเทียบเคียงกับ 3.2.2 กลุ่มบุคลากรจากหน่วยงานภาครัฐที่ส่งเสริมผลิตภัณฑ์
คู่แข่งในประเทศอื่นได้ คือ สิ่งที่ต้องให้ความส าคัญเป็นอย่างยิ่ง จ านวน 5 คน
โดยเฉพาะเมื่อบรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุสินค้า สามารถตอบสนอง 3.2.3 ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ จ านวน 5 คน
ความต้องการของลูกค้าได้อย่างชัดเจน ก็จะยิ่งเป็นช่องทาง 3.2.4 บุคคลทั่วไปที่สนใจผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์แบ่งเป็น
ในการเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ และยกระดับมาตรฐานสินค้า บุคคลทั่วไปที่บริโภคผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ จ านวน 20 คน
ให้เป็นสินค้าพรีเมี่ยม สามารถจ าหน่ายได้ในราคาสูง สามารถ และจากนักท่องเที่ยวที่สนใจผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ อ าเภอแกด า
เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์นั้นๆ ได้มากยิ่งขึ้น นอกจากผลิตภัณฑ์แล้ว จังหวัดมหาสารคาม จ านวน 30 คน โดยการสุ่มแบบบังเอิญ
บรรจุภัณฑ์ จึงเป็นปัจจัยที่ส าคัญยิ่งที่จะส่งผลต่อการตัดสินใจ (accidental sampling)
เลือกซื้อสินค้าของผู้บริโภค ดังนั้นบรรจุภัณฑ์ที่สวยงามสะดุดตา 3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย
และมีคุณค่าในทางใช้สอย ตอบสนองการใช้ของผู้บริโภค 3.3.1 แบบบันทึกจากการส ารวจบรรจุภัณฑ์ข้าวอินทรีย์
ได้ตรงจุด จะสามารถท าให้ผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดการแข่งขันได้ จากผู้ผลิตและจ าหน่าย ประกอบด้วยประเด็นต่าง ๆ คือ ราคา
อย่างยั่งยืนต่อไป และสินค้าที่มีคุณภาพ มีบรรจุภัณฑ์ที่สวยงาม ผลิตภัณฑ์ รูปแบบของบรรจุภัณฑ์ ข้อมูลบนบรรจุภัณฑ์ ขนาด
จะท าให้สินค้ามีคุณค่า เพิ่มขึ้นนอกจากจะจ าหน่ายได้มากขึ้น น ้าหนักสุทธิ
แล้วยังมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการยกระดับราคา สร้างมูลค่าเพิ่มแก่ 3.3.2 แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์ ข้าวอินทรีย์จากบุคคลทั่วไปและนักท่องเที่ยวที่สนใจ ผลิตภัณฑ์
ด้วยเหตุนี้จึงน ามาซึ่งงานวิจัยเรื่อง “การยกระดับบรรจุภัณฑ์ ข้าวอินทรีย์ เป็นแบบสัมภาษณ์ ซึ่งมีข้อค าถามเกี่ยวกับ รูปแบบ
ข้าวอินทรีย์ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี อ าเภอแกด า จังหวัด บรรจุภัณฑ์ที่ต้องการ ข้อมูลที่บรรจุบนบรรจุภัณฑ์ และเกณฑ์
มหาสารคาม” ให้ได้รับการยอมรับจากตลาด สามารถจ าหน่าย การพิจารณาเลือกซื้อผลิตภัณฑ์
ได้ เพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ อีกทั้งช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ 3.3.3 แบบประเมินคุณภาพบรรจุภัณฑ์ข้าวอินทรีย์
ธุรกิจ สร้างรายได้สู่ชุมชนเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน อ าเภอแกด า จังหวัดมหาสารคาม เป็นแบบประมาณค่า
ต่อไป (rating scale) 5 ระดับ (ดีมาก = 5, ดี = 4, ปานกลาง = 3, น้อย
2. วัตถุประสงค์ =2, น้อยที่สุด (ควรปรับปรุง) = 1) และข้อค าถามปลายเปิด
2
759