Page 778 - Full paper สอฉ.3-62
P. 778
แบ่งออกเป็น 2 ชุด คือแบบประเมินคุณภาพโดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 5.1 ศึกษาและส ารวจบรรจุภัณฑ์ข้าวอินทรีย์โดยการจด
จากหน่วยงานภาครัฐที่ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ และแบบประเมิน บันทึกข้อมูลจากผู้ผลิตและจ าหน่ายข้าวอินทรีย์
คุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 5.2 สัมภาษณ์ความคิดเห็นเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ข้าวอินทรีย์
3.3.4 แบบประเมินคุณภาพบรรจุภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ จากบุคคลทั่วไปและนักท่องเที่ยวที่สนใจผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์
อ าเภอแกด า จังหวัดมหาสารคาม เป็นแบบประมาณค่า เพื่อน ามาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ข้าว
(rating scale)5 ระดับ (ดีมาก = 5, ดี = 4, ปานกลาง = 3, น้อย อินทรีย์ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี อ าเภอแกด า จังหวัด
= 2, น้อยที่สุด(ควรปรับปรุง) = 1) และข้อค าถามปลายเปิด เพื่อ มหาสารคาม
สอบถามความคิดเห็นของผู้ผลิตและจ าหน่ายข้าวอินทรีย์ 5.3 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ชุมชนท่องเที่ยว OTOP
3.3.5 แบบประเมินความคิดเห็นที่มีต่อบรรจุภัณฑ์โดย นวัตวิถี อ าเภอแกด า จังหวัดมหาสารคาม
กลุ่มตัวอย่าง เป็นแบบประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ(มาก 5.4 ประเมินคุณภาพที่มีต่อการออกแบบเพื่อยกระดับบรรจุ
ที่สุด = 5, มาก = 4, ปานกลาง = 3, น้อย = 2, น้อยที่สุด = 1) ภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี อ าเภอแกด า
และข้อค าถามปลายเปิด เพื่อสอบถามความคิดเห็นของบุคคล จังหวัดมหาสารคาม โดย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานภาครัฐ
ทั่วไปและนักท่องเที่ยวที่สนใจผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ ที่มีต่อ ที่ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์
บรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบ และผู้ผลิตและจ าหน่ายข้าวอินทรีย์
4. นิยามศัพท์เฉพาะ 5.5 ประเมินความคิดเห็นที่มีต่อการออกแบบเพื่อยกระดับ
4.1 การยกระดับ คือ การออกแบบและพัฒนาให้มีรูปแบบ บรรจุภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี อ าเภอ
ใหม่ที่ดีขึ้น แกด า จังหวัดมหาสารคาม โดยบุคคลทั่วไปและนักท่องเที่ยวที่
4.2 บรรจุภัณฑ์ คือ การน าวัสดุกระดาษ มาออกแบบและ สนใจผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์
ห่อหุ้มข้าวอินทรีย์ บ้านหัวขัว ต าบลแกด า อ าเภอแกด า จังหวัด 5.6 น าผลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าสถิติที่ใช้คือค่าร้อยละ
มหาสารคาม ให้มีความแข็งแรง ได้สัดส่วนที่ถูกต้อง มีความ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยการให้คะแนนในการ
สวยงาม และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่ตัวผลิตภัณฑ์ ประเมินคุณภาพและการประเมินความคิดเห็น
4.3 ข้าวอินทรีย์ คือ ข้าวที่ได้จากการผลิตแบบเกษตร 6. ผลการวิจัย
อินทรีย์ ซึ่งเป็นวิธีการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมีทุกชนิดหรือสาร 6.1. ผลการศึกษาและส ารวจบรรจุภัณฑ์ข้าวอินทรีย์โดยการ
สังเคราะห์ต่างๆและปุ๋ ยเคมีในทุกขั้นตอนการผลิต ของชุมชน จดบันทึกข้อมูลจากผู้ผลิตและจ าหน่ายข้าวอินทรีย์จ านวน 5 คน
ท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านหัวขัว ต าบลแกด า อ าเภอแกด า พบว่า
จังหวัดมหาสารคาม 6.1.1 ราคาผลิตภัณฑ์ จ าหน่ายขนาด น ้าหนักสุทธิ
4.4 ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี คือ ชุมชนที่ได้รับการ 1 กิโลกรัม ราคา 80 บาท
พัฒนาตามมิติของการพัฒนา 5 ด้าน จากกรมการพัฒนาชุมชน 6.1.2 รูปแบบบรรจุภัณฑ์เดิมที่มีเป็นถุงพลาสติก
คือ 1.พัฒนาบุคลากรการท่องเที่ยวชุมชน 2.พัฒนาแหล่ง อัดสุญญากาศ แปะสติ๊กเกอร์
ท่องเที่ยว และสิ่งอ านวยความสะดวก 3. พัฒนาสินค้าและ 6.1.3 มีรายละเอียดข้อมูลบนบรรจุภัณฑ์ ดังนี้ ชื่อกลุ่ม
บริการการท่องเที่ยวชุมชน 4. เชื่อมโยงเส้นทาง การท่องเที่ยว ผู้ผลิต, ชื่อผลิตภัณฑ์, จัดจ าหน่ายโดย ,น ้าหนัก/ปริมาณสุทธิ,
ชุมชน5. ส่งเสริมการตลาด การท่องเที่ยวชุมชน* คือ บ้านหัวขัว วิธีหุง วิธีใช้
หมู่ที่4 ต าบลแกด า อ าเภอแกด า จังหวัดมหาสารคาม 6.1.4 ขนาด น ้าหนักสุทธิ 1 กิโลกรัม
5. วิธีด าเนินการวิจัย 6.2 สัมภาษณ์ความคิดเห็นเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ข้าวอินทรีย์จาก
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยยกระดับบรรจุภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ บุคคลทั่วไปและนักท่องเที่ยวที่สนใจผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์เพื่อ
ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี อ าเภอแกด าจังหวัดมหาสารคาม น ามาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ข้าวอินทรีย์
โดยมีขั้นตอนการวิจัย ดังนี้
3
760