Page 782 - Full paper สอฉ.3-62
P. 782

เห็ดจัดเป็นราชั้นสูงซึ่งนับได้ว่ามีวิวัฒนาการสูงสุด  2. วัตถุประสงค์การวิจัย
             กว่าราอื่นๆ และมีวงจรชีวิตที่สลับซับซ้อนกว่าเชื้อราทั่วไปเริ่ม     2.1 เพื่อศึกษาปริมาณเห็ดฟางที่เหมาะสมต่อ

             จากสปอร์ ซึ่งเป็นอวัยวะหรือส่วนที่สร้างเซลขยายพันธุ เมื่อ  ผลิตภัณฑ์น ้าพริกเห็ดฟางรสลาบกึ่งส าเร็จรูป
             ตกไปในสภาพแวดล้อมเหมาะสมจะงอกเป็นใย และกลุ่มใยรา        2.2 เพื่อศึกษาปริมาณความชื้นที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์

             เจริญพัฒนาเป็นกลุ่มก้อนเกิดเป็นดอกเมื่อดอกเห็ดเจริญจะ  น ้าพริกเห็ดฟางรสลาบกึ่งส าเร็จรูป
             สร้างสปอร์ซึ่งจะปลิวไปงอกเป็นใยรา และเป็นดอกเห็ดได      2.3 เพื่อศึกษาปริมาณจุลินทรีย์ที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์
             อีก หมุนเวียนเช่นนี้เรื่อยไป เห็ดฟางเป็นเห็ดที่มีปริมาณการ  น ้าพริกเห็ดฟางรสลาบกึ่งส าเร็จรูป
             ผลิตเป็นอันดับ 5 ของโลก แม้เห็ดฟางจะมีการผลิตมากแต่ก็ยัง     2.4 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อ

             ไม่เพียงพอเพราะมีผู้นิยมบริโภคมากเนื่องจากมีรสชาติดีและมี  ผลิตภัณฑ์น ้าพริกเห็ดฟางรสลาบกึ่งส าเร็จรูป
             คุณค่าทางอาหารสูงมาก ประกอบด้วยโปรตีน เกลือแร่และ

             วิตามิน นอกจากนี้เห็ดฟางยังมีคุณสมบัติรักษาโรคบางอย่างได้   3. วิธีด าเนินการวิจัย
             เช่น โรคไขมันในเส้นเลือดสูง โรคหัวใจ โรคความดัน และยัง  3.1 ศึกษาปริมาณเห็ดฟางที่เหมาะสมต่อผลิตภัณฑ์น ้าพริกเห็ด
             มีคุณสมบัติในการต่อต้านมะเร็งบางชนิด (งามนิจ เสริมเกียรติ  ฟางรสลาบกึ่งส าเร็จรูป 3 สูตร โดยใช้ปริมาณเห็ดฟาง 30%

             พงศ์, 2553) ปัจจุบันเห็ดที่นิยมรับประทานกันมีอยู่มากมาย  25% และ 20%
             หลายชนิด มีทั้งแบบสด แบบบรรจุกระป๋ องหรือแม้แต่เห็ดตาก  3.2 ศึกษาปริมาณความชื้นที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์น ้าพริกเห็ดฟาง

             แห้ง น ามาประกอบอาหารเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น เห็ดอบแห้ง   รสลาบกึ่งส าเร็จรูป โดยใช้วิธี AOAC, 2012 ดังนี้
             เห็ดบรรจุกระป๋ อง คุกกี้เห็ด แหนมเห็ด (จันทรกานต์ ทรงเดช,   3.2.1 อบภาชนะส าหรับหาความชื้นในตู้อบไฟฟ้าที่อุณหภูมิ
             2555)                                            105 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 ชั่วโมง น าออกจากตู้อบใส่ไว้ใน
                    ลาบเป็นอาหารหลักที่สื่อถึงวัฒนธรรมของคนอีสาน  โถดูดความชื้น ปล่อยทิ้งไว้จนกระทั่งอุณหภูมิของภาชนะ

             และสืบทอดต่อกันมา ด้วยรสชาติอาหารจัดจ้านเป็นเอกลักษณ์  ลดลงเท่ากับอุณหภูมิห้องแล้วชั่งน ้าหนักอีกครั้ง
             ของคนอีสานที่หลายคนต่างหลงใหล นอกจากนั้นยังนิยม  3.2.2 ท าเช่นเดียวกับข้อ 1 จนได้ผลต่างของน ้าหนักที่ชั่งสอง

             น ามาใช้เป็นอาหารในโอกาสพิเศษ เมนูลาบที่พ้องเสียงกับค าว่า  ครั้งติดต่อกันไม่เกิน 1-3 มิลลิกรัม
             โชคลาภ เป็นคติความเชื่อของคนไทย แต่ยังคงมีประโยชน์และ  3.2.3 ชั่งตัวอย่างที่ต้องการหาความชื้นให้ได้น ้าหนักที่แน่นอน
             สรรพคุณที่ซุกซ่อนอยู่ เช่น มะนาวถือเป็นพืชที่ดีต่อสุขภาพ  1-2 กรัม ใส่ลงในภาชนะหาความชื้นที่ทราบน ้าหนักแน่นอน

             อย่างแท้จริง ช่วยบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะ ช่วยแก้อาเจียน   น าไปอบในตู้อบที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส นาน 5-6
             ช่วยบรรเทาอาการไข้ ส่วนพริกมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระช่วย  ชั่วโมง น าออกจากตู้อบใส่ไว้ในโถดูดความชื้น ปล่อยทิ้งไว้

             ชะลอวัยช่วยให้อารมณ์ดีท าให้ร่างกายสร้างสารเอนดอร์ฟิน   จนกระทั่งอุณหภูมิของภาชนะลดลงเท่ากับอุณหภูมิห้องแล้วชั่ง
             หรือสารแห่งความสุขก่อนจะมาเป็นลาบที่มีรสชาติอร่อย ไม่ใช่  น ้าหนักภาชนะพร้อมตัวอย่าง
             เพียงมีสูตรเคล็ดลับในการปรุงเท่านั้น แต่ยังคงแฝงไปด้วยการ  3.2.4 อบซ ้าจนได้ผลต่างของน ้าหนักที่ชั่งทั้งสองครั้งติดต่อกัน

             เรียนรู้วิถีชีวิตของชาวอีสานผ่านกระบวนการท าลาบที่ใส่ใจใน  ไม่เกิน 1-3 มิลลิกรัม
             ทุกขั้นตอน และที่ส าคัญมีสารอาหารทางโภชนาการครบถ้วน   3.2.5 หาปริมาณความชื้น (เปอร์เซ็นต์โดยน ้าหนัก)
             เหมาะกับผู้ที่ใส่ใจด้านสุขภาพอย่างแท้จริง (บรรพต พิลาพันธ์,

             2559)                                             ผลต่างของน ้าหนักตัวอย่างก่อนอบและหลังอบ (กรัม) x 100
                     ดังนั้นผู้วิจัยได้ตระหนักถึงความส าคัญของ เห็ดฟางและ  น ้าหนักตัวอย่างเริ่มต้น (กรัม)
             ลาบ จึงมีแนวคิดที่จะท าการศึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์น ้าพริกเห็ด

             ฟางกึ่งส าเร็จรูป โดยน าลาบเห็ดฟางมาผ่านกระบวนการท าแห้ง  3.3 เพื่อศึกษาปริมาณจุลินทรีย์ที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์น ้าพริกเห็ด
             เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาและสะดวกต่อการบริโภค     ฟางรสลาบกึ่งส าเร็จรูป โดยใช้วิธี BAM, 2001



                                                              2
                                                                                                              764
   777   778   779   780   781   782   783   784   785   786   787