Page 786 - Full paper สอฉ.3-62
P. 786
satisfaction is the highest level (x̄=8.28, S.D.=0.67) at เครื่องแกงห่อหมก ยังสามารถวางขายตามร้านสะดวกซื้อหรือ
0.05 confidence level. สามารถส่งออกไปต่างประเทศได้ในอนาคต
1. บทน า 2. วัตถุประสงค์การวิจัย
ห่อหมกเป็นอาหารคาวที่มีชื่อเสียงของไทยมานาน 2.1 เพื่อศึกษาปริมาณกะทิที่เหมาะสมในการพัฒนา
ประชาชนทั่วไปชอบบริโภคเพราะห่อหมกมีคุณค่าทางอาหาร ผลิตภัณฑ์ซอสเครื่องแกงห่อหมก
เป็นอาหารที่มีคุณค่าครบถ้วนที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย โดยมี 2.2 เพื่อศึกษาปริมาณเถ้าในผลิตภัณฑ์ซอสเครื่องแกง
ส่วนประกอบที่เป็นอาหารสมุนไพรที่สามารถช่วยในการปรับ ห่อหมก
ธาตุและเจริญอาหารได้อย่างดียิ่ง ครบมีรสชาติอร่อยถูกปาก 2.3 เพื่อศึกษาปริมาณจุลินทรีย์ที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์
และราคาก็ไม่แพงแถมยังหาซื้อรับประทานได้ง่าย ให้ ซอสเครื่องแกงห่อหมก
ประโยชน์ต่อสุขภาพค่อนข้างมากโดยเฉพาะห่อหมกปลา จะ 2.4 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อ
เป็นที่นิยมเป็นอย่างมากเพราะปลาเป็นแหล่งโปรตีนที่มี ผลิตภัณฑ์ซอสเครื่องแกงห่อหมก
ประโยชน์ต่อร่างกาย ย่อยง่าย ไขมันต ่า การใช้พริกแกงและยัง
มีสมุนไพรอีกหลายชนิดเป็นอาหารที่ให้พลังงานสูงแต่ให้ 3. วิธีด าเนินการวิจัย
โปรตีนและไขมันน้อย เป็นอาหารที่ให้ธาตุแคลเซียมสูงเป็น 3.1 ศึกษาปริมาณกะทิที่เหมาะสมในการท าผลิตภัณฑ์ซอส
พิเศษ ประกอบด้วยเครื่องปรุงสมุนไพรหลายชนิดที่ช่วยให้มี เครื่องแกงห่อหมก 3 สูตร โดยใช้ปริมาณกะทิ 40% 50% และ
คุณค่าอาหารสูง สรรพคุณทางยาของห่อหมกปลาส่วนใหญ่มา 60%
จากเครื่องปรุงสมุนไพร เช่น กระชาย กระเทียม ใบยอ ข่า ตระ 3.2 ศึกษาปริมาณเถ้าในผลิตภัณฑ์ซอสเครื่องแกงห่อหมก การ
ไคร้ โหระพา พริก รากผักชี ท าให้เป็นอาหารที่บ ารุงธาตุ บ ารุง วิเคราะห์ปริมาณเถ้าในการวิเคราะห์ปริมาณเถ้าจะใช้ตัวอย่าง
กระดูก เจริญอาหาร ขับลม ขับเหงื่อแก้จุกเสียด ช่วยลดความ ประมาณ 2-10 กรัม และปริมาณเถ้าที่วิเคราะห์ได้อาจรายงาน
ดันโลหิตสูง ทางด้านภูมิปัญญานั้น การน าเอาเครื่องปรุง ในรูปเปอร์เซ็นต์เถ้าต่อน ้าหนักเปี ยกหรือเปอร์เซ็นต์เถ้าต่อ
สมุนไพรหลากหลายมารวมกับกะทิและเนื้อปลากรายรูปแบบ น ้าหนักแห้ง ก็ได้ วิธีที่นิยมใช้คือของ AOAC (2000) Methods
ของอาหารที่มีคุณค่าสูง ห่อหมกที่ดีจะมีกลิ่นหอมของ 900.02 และ 923.03 กาวิเคราะห์ปริมาณเถ้าตามวิธีของ AOAC
เครื่องแกง เมื่อสุกจะต้องมีลักษณะเกาะติดกันเป็นก้อนไม่แฉะ ค านวณหาปริมาณเถ้าได้ดังสมการ % เถ้า (น ้าหนักเปียก)
หรือแข็งเกินไปมีรสชาติหวานของกะทิ มีความเผ็ดเล็กน้อย
ของเครื่องแกง (ศศพินทุ์ ดิษนิล, 2549) (น ้าหนักเถ้า+ถ้วยเผาที่ชั่งหลังอบ)−น ้าหนักถ้วยเผา × 100
ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้มีแนวคิดที่จะท าผลิตภัณฑ์ซอส น ้าหนักตัวอย่างที่ใช้
เครื่องแกงห่อหมกบรรจุขวดแก้วพร้อมใช้งาน เพื่อเป็นการ
ประหยัดเวลาในการท าเครื่องแกงและเพิ่มความสะดวกสบาย 3.3 ศึกษาปริมาณจุลินทรีย์ที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ซอสเครื่องแกง
ให้กับกลุ่มบุคคลที่ไม่ค่อยมีเวลาและเร่งรีบหรือคนที่ไม่อยาก ห่อหมก โดยใช้วิธี BAM, 2001
เตรียมเครื่องแกง ผลิตภัณฑ์ซอสเครื่องแกงห่อหมกจึงตอบ
โจทย์เพราะสามารถเปิดฝาแล้วเทซอสคลุกกับเนื้อสัตว์ ไข่ ตีให้ CFU/g = Average no. of colonies X Dilution factor
เหนียวแล้วน าไปใส่พิมพ์ซิลิโคนหรือกระทงใบตองก็สามารถ
น าไปนึ่งรับประทานได้ ผลิตภัณฑ์ซอสเครื่องแกงห่อหมกยัง
เหมาะส าหรับแม่บ้านพ่อบ้านมือใหม่อีกทั้งยังเหมาะกับการ 3.4 ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ซอส
เครื่องแกงห่อหมก ทดสอบการยอมรับของผู้บริโภคที่มีต่อ
น าไปใช้ในต่างประเทศและชาวต่างชาติที่อยากท าอาหารไทย
สามารถท าได้ง่ายและสะดวกสบาย และผลิตภัณฑ์ซอส ผลิตภัณฑ์โดยใช้วิธี 9 point hedonic scaling ผู้ทดสอบ จ านวน
50 คน โดยผู้บริโภคจะได้ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ และก าหนด
2
768