Page 791 - Full paper สอฉ.3-62
P. 791
จากการสุ่มจากผู้เข้าชมสื่อมัลติมีเดียผ่านสื่อสังคมออนไลน์ จำนวน 2. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการเข้าชมสื่อมัลติมีเดีย
50 คน ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ มีขั้นตอน
4. การนำไปใช้ (Implemen tation) ดังต่อไปนี้
4.1 ผู้วิจัยทดลองใช้สื่อมัลติมีเดียกับนักศึกษา 2.1 ทำการเผยแพร่ URL ที่จัดเก็บไว้ในเว็บไซต์ยูทูบ
ภาควิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก จำนวน 30 คน 2.2 จากการเผยแพร่เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ ตั้งแต่
4.2 จัดเตรียมห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ วันที่ 17 – 28 มิถุนายน 2562 ผลปรากฏ ดังนี้
ทดลองสื่อมัลติมีเดีย 2.2.1 มีผู้เข้าชมที่เป็นสมาชิกเว็บไซต์ยูทูบ แสดง
4.3 นำสื่อมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น ไปทดลองโดยให้ ความพึงพอใจด้วยการกดปุ่มชอบจำนวน 43 คน และกดปุ่มไม่
นักศึกษารับชมสื่อมัลติมีเดียผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อตรวจสอบ ชอบ จำนวน 7 คน
หาข้อบกพร่อง 2.2.2 มีผู้เข้าชมแสดงความคิดเห็นโดยการพิมพ์
5. การประเมินผล (Evaluation) ข้อความ จำนวน 7 คน
จากการสังเกตพฤติกรรมการรับชมสื่อมัลติมีเดียของ
นักศึกษาภาควิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก จำนวน 30 คน ผลการ 6. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ประเมินพบว่า นักศึกษาให้ความสนใจรับชมสื่อมัลติมีเดียที่ 1. สื่อมัลติมีเดียส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนท่องเที่ยว
ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเป็นอย่างดี นักศึกษาหลายคนเมื่อพบว่ามีรูปภาพ OTOP นวัตวิถี บ้านเหล่าน้อย ต.เขวา อ.เมือง จ.มหาสารคาม
สถานที่ภูมิลำเนาของตนเองปรากฏอยู่ในสื่อมัลติมีเดีย จะมีท่าที 2. แบบประเมินคุณภาพสื่อมัลติมีเดีย
แสดงออกในเชิงภาคภูมิใจ ตรงกันข้ามกับนักศึกษาบางคนที่ไม่รู้จัก 3. แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อสื่อมัลติมีเดีย
สถานที่ดังกล่าวกลับมีท่าทีการแสดงออก งง สงสัย และในการ 4. การเผยแพร่สื่อมัลติมีเดียผ่านสื่อสังคมออนไลน์
รับชมของนักศึกษา พบปัญหาการแสดงผลสื่อมัลติมีเดียผ่าน 7. การวิเคราะห์ข้อมูล
เว็บไซต์ยูทูบมีความเร็วที่แตกต่างกัน ในส่วนนี้อาจเป็นปัญหาจาก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย
สัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีความเร็วไม่เพียงพอ ผู้วิจัยจึง และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ต้องเตรียมอุปกรณ์การฉายผ่านจอโปรเจคเตอร์สำรองไว้ สำหรับ 8. สรุปผล
การนำไปเผยแพร่กับกลุ่มตัวอย่างในครั้งต่อไป จากการวิจัย เรื่องการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านเหล่าน้อย ต.เขวา
5. การเก็บรวบรวมข้อมูล อ.เมือง จ.มหาสารคาม ซึ่งผลการวิจัย พบว่า
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลการทดลองกับ กลุ่มตัวอย่าง 1. การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน
ได้แก่ นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม จำนวน 100 คน ท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านเหล่าน้อย ต.เขวา อ.เมือง
1.1 ผู้วิจัยได้ขอความอนุเคราะห์เก็บรวบรวมข้อมูล จ.มหาสารคาม พบว่าผลการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ โดย
กับนักศึกษาจำนวน 5 ภาควิชาๆละ 20 คน เพื่อทำการทดลองใช้ รวมอยู่ในระดับดี
เครื่องมือและเก็บรวบรวมข้อมูล กับนักศึกษาที่มาใช้ 2. การรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อสื่อมัลติมีเดียส่งเสริม
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ในระหว่างวันที่ 17 – 28 มิถุนายน การท่องเที่ยวชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านเหล่าน้อย ต.
2562 เขวา อ.เมือง จ.มหาสารคาม พบว่าผลการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่าง
1.2 จัดเตรียมห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์สำหรับ โดยรวมอยู่ในระดับมาก
การทดลอง โดยการติดตั้งสื่อมัลติมีเดียให้ดูพร้อมกันผ่าน 3. ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อสื่อมัลติมีเดีย
โปรเจคเตอร์และเครื่องขยายเสียง ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านเหล่า
1.3 ทำการทดลอง ดังขั้นตอนต่อไปนี้ น้อย ต.เขวา อ.เมือง จ.มหาสารคาม พบว่าผลความพึงพอใจของ
1.3.1 ก่อนการทดลอง ผู้วิจัยได้อธิบาย กลุ่มตัวอย่าง โดยรวมอยู่ในระดับมาก
วัตถุประสงค์ของการทดลองให้กับนักศึกษาได้ทราบ 4. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจจากผู้
1.3.2 ผู้วิจัยให้นักศึกษารับชมสื่อมัลติมีเดีย เข้าชมผ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อสื่อมัลติมีเดียส่งเสริมการ
1.3.3 หลังจากที่นักศึกษารับชมสื่อมัลติมีเดีย ท่องเที่ยวชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านเหล่าน้อย ต.เขวา
เสร็จสิ้นแล้ว ผู้วิจัยแจกแบบวัดการรับรู้และแบบสอบถามความพึง อ.เมือง จ.มหาสารคาม พบว่าผู้เข้าชม จำนวน 43 คน กดปุ่มชอบ
พอใจให้กับนักศึกษาได้ประเมิน เสร็จแล้วก็เก็บรวบรวม คิดเป็นร้อยละ 86
9.อภิปรายผล
3
773