Page 792 - Full paper สอฉ.3-62
P. 792
ผลจากการวิจัย เรื่องการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียส่งเสริมการ ต้องการของกลุ่มตัวอย่างได้ ซึ่งเป็นผลมาจากความชอบและการ
ท่องเที่ยวชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านเหล่าน้อย ต.เขวา ยอมรับ การมีเจตคติที่ดีต่อสื่อมัลติมีเดียส่งเสริมการท่องเที่ยว
อ.เมือง จ.มหาสารคามนำมาอภิปรายผลได้ ดังนี้ ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านเหล่าน้อย ต.เขวา อ.เมือง
1. สื่อมัลติมีเดียส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนท่องเที่ยว จ.มหาสารคาม
OTOP นวัตวิถี บ้านเหล่าน้อย ต.เขวา อ.เมือง จ.มหาสารคาม ที่ 4. ผลการวิจัยความพึงพอใจจากผู้เข้าชมสื่อมัลติมีเดียที่
ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น ได้รับการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ พบว่า การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
จำนวน 3 ท่าน และเมื่อนำค่าเฉลี่ยที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูล แบบบังเอิญตั้งแต่วันที่ 17 – 28 มิถุนายน 2562 มีผู้เข้าชม
เปรียบเทียบกับเกณฑ์ประเมินคุณภาพสื่อมัลติมีเดีย โดยปรับปรุง จำนวน 43 คน กดปุ่มชอบ คิดเป็นร้อยละ 86 และผู้เข้าชม
มาจากแนวคิดของ บุญชม ศรีสะอาด (2553: 69 - 70) พบว่า สื่อ จำนวน 7 คน กดปุ่มไม่ชอบ คิดเป็นร้อยละ14 โดยมียอดการเข้า
มัลติมีเดียส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ชมสื่อมัลติมีเดีย จำนวน 211ครั้ง สามารถพิจารณาแหล่งที่มาของ
บ้านเหล่าน้อย ต.เขวา อ.เมือง จ.มหาสารคาม โดยรวมอยู่ในระดับ การรับชมสื่อมัลติมีเดียได้ดังนี้ มีผู้เข้าชมผ่านเว็บไซต์เฟซบุ๊ก
ดี เมื่อพิจารณาผลการประเมินเป็นรายด้านพบว่า ผลการประเมิน ตลอดจนเครื่องมือของเว็บไซต์ยูทูบที่ช่วยให้ผู้วิจัยสามารถ
อยู่ในระดับดี อย่างไรก็ตามจากผลการวิจัยในรายข้อพบว่ามีข้อ วิเคราะห์ตรวจสอบการเข้าถึงสื่อมัลติมีเดีย และเครื่องมือที่ช่วยให้
สารสนเทศบางประการที่น่าสนใจและสามารถนำมาอภิปรายผล ผู้เข้าชมร่วมแสดงความพึงพอใจโดยการกดปุ่มชอบ หรือกดปุ่มไม่
ได้ ดังนี้ ชอบ หรือการแสดงข้อคิดเห็นต่าง ๆ ลงในกระดานความคิดเห็นได้
ในด้านออกแบบสื่อมัลติมีเดียผู้วิจัยได้นำองค์ประกอบ โดยในครั้งนี้มีผู้เข้าชมจำนวน 11 คน ส่งข้อความลงบนกระดาน
ของสื่อมัลติมีเดียชนิดต่าง ๆ มาพัฒนาได้แก่ การเลือกใช้ข้อความที่ ความคิดเห็น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นข้อความให้กำลังผู้สร้างสื่อมัลติมีเดีย
สามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน การเลือกใช้ภาพวีดีทัศน์และ และมีข้อความบางส่วนแสดงความพึงพอใจเกี่ยวกับความรู้ที่ได้รับ
ภาพนิ่งที่มีคุณภาพคมชัด การเลือกใช้ภาพเคลื่อนไหวเพื่อเป็นสื่อ จากการรับชมสื่อมัลติมีเดียที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น
ดึงดูดความน่าสนใจจากผู้ชม การเลือกใช้ดนตรีประกอบที่
เหมาะสมกับเนื้อหา ตลอดจนการกำหนดโทนสีของสื่อมัลติมีเดีย
และการเขียนบทบรรยายที่สามารถสื่อสารให้เข้าใจได้ง่าย มา
ผสมผสานเข้ากับหลักการออกแบบและพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย
อย่างมีลำดับขั้น โดยผู้วิจัยได้ดัดแปลงขั้นตอนการพัฒนาสื่อ
มัลติมีเดียมาจากการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ของ ไชยยศ เรือง
สุวรรณ (2546 : 84) ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 การ
วิเคราะห์ขั้นที่ 2 การออกแบบ ขั้นที่ 3 การพัฒนาบทเรียน ขั้นที่ 4
การทดลอง ขั้นที่ 5 การประเมินผล
2. ผลการวิจัยการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อสื่อ
มัลติมีเดียที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ
พิจารณาเป็นรายข้ออยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยมาก
ที่สุดได้แก่ ชุมชนเป็นแหล่งท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี รองลงมาคือ
เยาวชนได้รับรู้และเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในชุมชนของตนเอง
3. ผลการวิจัยความพึงพอใจของกลุ่ม ตัวอย่างที่มีต่อสื่อ
มัลติมีเดียที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ
พิจารณาเป็นรายด้าน 3 ด้าน คือ การออกแบบ ด้านการนำเสนอ
ด้านเนื้อหา พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน และ เมื่อพิจารณาเป็น
รายข้อพบว่ามีข้อสารสนเทศบาง ประการที่น่าสนใจและสามารถ
นำมาอภิปรายผล ได้ดังนี้ ความพึงพอใจของนักศึกษา
กลุ่มเป้าหมายเป็นรายข้ออยู่ ในระดับมากทุกข้อ โดยข้อที่มี
ค่าเฉลี่ยสูงสุดในแต่ละ ด้าน ได้แก่ เนื้อหาทำให้เกิดความรู้สึก
ภาคภูมิใจใน ชุมชนของตนเองที่เป็นชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัต
วิถี เสียงดนตรีประกอบมีทำนองที่เหมาะสมเข้ากับวีถีชีวิตของชน
ชุน การนำเสนอมีความต่อเนื่อง ทั้งนี้กล่าวได้ว่าสื่อมัลติมีเดีย ที่
ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น สามารถบรรลุวัตถุประสงค์และตอบสนองความ
4
774