Page 790 - Full paper สอฉ.3-62
P. 790

การพัฒนาประเทศไทยในหลายทศวรรษที่ผ่านมาเป็น        การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน
             แนวทางการพัฒนาที่เน้นระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม อาศัยการ ท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านเหล่าน้อย ต.เขวา อ.เมือง
             เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นหลัก อันจะนำไปสู่ความทันสมัยและ จ.มหาสารคาม ผู้วิจัยได้ดำเนินการสร้างสื่อมัลติมีเดีย ตามหลักของ
             ทัดเทียมอารยประเทศ ประกอบกับความก้าวหน้าทางด้านการ ADDIE Model 5 ขั้นตอน ดังนี้ ซึ่งประกอบด้วย
             สื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศมีการเจริญเติบโตมากยิ่งขึ้น จน   การวิเคราะห์  (Analysis)
             สามารถเรียกได้ว่าโลกไร้พรมแดนวัฒนธรรมต่างชาติจึงได้หลั่งไหล  การออกแบบ (Design)
             เข้ามาและมีบทบาทต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสังคม จนส่งผล  การพัฒนา (Development)
             ต่อเยาวชนที่รับเอาวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามาประยุกต์ใช้ใน    การนำไปใช้  (Implemen tation)
             ชีวิตประจำวันเกิดการทำลายพื้นฐานทางปัญญาที่บรรพบุรุษได้  การประเมินผล (Evaluation)
             สร้างไว้ทำให้ความเชื่อและการดำเนินวิถีชีวิตตามประเพณีแบบ  ซึ่งแต่ละขั้นตอนเป็นแนวทางที่มีลักษณะที่ยืดหยุ่นเพื่อให้
             ดั้งเดิมเปลี่ยนแปลงไปมาก นอกจากนี้สังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่าง สามารถนำไปสร้างเป็นเครื่องมือได้อย่างมีประสิทธิภาพ
             รวดเร็ว การสื่อสารและการคมนาคมที่สะดวกสบายมากขึ้น ความ   1. ขั้นวิเคราะห์ (Analysis) แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
             เจริญก้าวหน้าทั้งหลายที่หมุนไปตามกระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้    1.1 วิเคราะห์เนื้อหา จากการศึกษาประวัติของชม
             เยาวชนรุ่นใหม่ลุ่มหลงในสิ่งที่ก้าวหน้าทันสมัยต่าง ๆ เริ่มไขว้เขว ชนจากเอกสารและจากการสอบถามจากผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้าน
             สับสน หลงลืม และเข้าใจผิดเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของ    1.2 วิเคราะห์รูปแบบสื่อมัลติมีเดียจากการศึกษา
             ตนเอง มีค่านิยมที่มุ่งเน้นบริโภคนิยมทำให้การสืบสาน เอกสารและงานวิจัยเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย ผู้วิจัยนำมาสังเคราะห์
             ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาที่ดีงามของชุมชนผุกร่อนสูญสลายไป และกำหนดรูปแบบสื่อมัลติมีเดีย โดยใช้องค์ประกอบสื่อมัลติมีเดีย
             (ญาณิศา บุญจิตร์ และคณะ, 2554 : 1 – 2)            5 ชนิด ได้แก่
                    ดังนั้นผู้วิจัยจึงต้องการพัฒนาสื่อที่สามารถดึงดูดความ    1.2.1 ตัวอักษรหรือข้อความ
             สนใจของกลุ่มเป้าหมายและก่อ ให้เกิดความภาคภูมิใจในภูมิ           1.2.2 ภาพนิ่ง
             ปัญญาท้องถิ่นของตนเอง โดยมีแนวทางการพัฒนาสอดคล้อง กับ           1.2.3 ภาพเคลื่อนไหว
             ได้นำองค์ ประกอบ ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวี     1.2.4 วีดีทัศน์
             ดีทัศน์ มาผสมผสานเป็นสื่อมัลติมีเดีย เผย แพร่ผ่านระบบออนไลน์    1.2.5 เสียง
             ซึ่งเป็นช่องทางที่ใกล้ชิดกับ กลุ่มเป้าหมายได้อย่างมี ประสิทธิภาพ    2. ขั้นออกแบบ (Design) ผู้วิจัยทำการออกแบบและ
             2.วัตถุประสงค์                                    จัดเตรียมสิ่งต่าง ๆ ไว้เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา สื่อ
                                                               มัลติมีเดีย ดังนี้
                    1) เพื่อพัฒนาสื่อมัลติมีเดียส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน
             ท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านเหล่าน้อย ต.เขวา อ.เมือง              2.1 เขียนบทบรรยาย
                                                                          2.2 แบบร่างภาพเคลื่อนไหว
             จ.มหาสารคาม                                                  2.3 โครงเรื่อง
                    2) เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้เกิดรายได้กับชุมชน      2.4 ติดต่อสถานที่ถ่ายทำ

                    3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าชมสื่อมัลติมีเดียที่   2.5 เตรียมอุปกรณ์ถ่ายทำและวางแผนเดินทาง
             พัฒนาขึ้น ผ่านสื่อสังคมออนไลน์                               2.6 เสียงที่ใช้ในสื่อมัลติมีเดีย
             3.ขอบเขตของการวิจัย                                      3. การพัฒนา (Development)
                    ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย                    3.1 ลงพื้นที่เก็บข้อมูล สอบถามผู้ใหญ่บ้านและผู้
                    1. ประชากร ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่เยาวชนใน เฒ่าผู้แก่ พระสงฆ์ บันทึกภาพตามสถานที่ต่างๆทั้งภาพนิ่ง วีดีโอ
             จังหวัดมหาสารคาม                                  และบันทึกเสียง
                    2. กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่      3.2 นำข้อมูลไฟล์วีดีโอและเสียงมาตัดต่อใส่เอฟ
             นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม จำนวน 100 คน   เฟคและเทคนิคพิเศษให้เหมาะสม
                    3. ผู้เข้าชมสื่อมัลติมีเดียผ่านสื่อสังคมออนไลน์ โดย        3.3 ทำการประมวลผลและจัดเก็บ
             วิธีการสุ่มตัวอย่างจำนวน 50 คน วันที่ 17 – 28 มิถุนายน 2562   3.4 นำสื่อมัลติมีเดียส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน
             เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ มีผู้เข้าชมที่เป็นสมาชิกเว็บไซต์ยูทูบ  ท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านเหล่าน้อย ต.เขวา อ.เมือง จ.
             (Youtube) จำนวน 50 คน แสดงความพึงพอใจด้วยการกดปุ่ม  มหาสารคาม ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับชมและเผยแพร่ในโซเชี่ยว
             ชอบ หรือ ไม่ชอบ                                              3.7 ผู้วิจัยทำแบบสอบถามความพึงพอใจสำหรับ
             4.วิธีดำเนินการวิจัย                              กลุ่มเป้าหมายนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม 100 และ


                                                               2
                                                                                                              772
   785   786   787   788   789   790   791   792   793   794   795