Page 822 - Full paper สอฉ.3-62
P. 822

ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผล ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา   3. ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วย

             และผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา          บทเรียนออนไลน์วิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องาน
                2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการจัดการเทคโนโลยี  อาชีพ อยู่ในระดับมาก (X ̅ = 4.47)
             สารสนเทศเพื่องานอาชีพ ที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์   9. ข้อเสนอแนะ
                จากผลการวิจัยเพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่

             เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ ผลการวิจัยพบว่า  คะแนนสอบ    9.1 จากผลการวิจัยพบว่า บทเรียนออนไลน์วิชาการ
             หลังเรียนของผู้เรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญ  จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพ เป็นสื่อการสอนที่

             ทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงให้เห็นว่า บทเรียนออนไลน์ที่ผู้วิจัย  มีประสิทธิภาพ สามารถท าให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
             ได้มีการวิเคราะห์หลักสูตรเกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียน จุดประสงค์  และเกิดความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์
             การเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีวัดและประเมินผลอย่างเป็นล าดับ  ดังนั้น จึงควรสนับสนุนให้ผู้สอนมีการผลิตและเผยแพร่

             ขั้นตอน และเป็นไปตามหลักของการวิจัย ผ่านการตรวจสอบ  บทเรียนออนไลน์เพื่อน าไปใช้เป็นสื่อการสอนในเรื่องอื่น ๆ
             ความถูกต้อง และประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา   ต่อไป

             ด้านวัดและ ประเมินผล และด้านเทคโนโลยีการศึกษา มีการ   9.2 ในการน าบทเรียนออนไลน์ไปใช้ ผู้สอนควรมีการ
             ปรับปรุงแก้ไขและผ่านกระบวนการหาประสิทธิภาพ จะช่วย  เตรียมความพร้อมของ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่าง ๆ และ
             สร้างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม  โปรแกรมที่รองรับบทเรียนให้เรียบร้อยเพื่อให้การเรียนการ
             จุดประสงค์                                       สอน ด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และไม่เกิดปัญหาระหว่าง

                 3. ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วย บทเรียน  การใช้บทเรียน
             ออนไลน์ วิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องาน   เอกสารอ้างอิง
                                                              กรมวิชาการ. (2547) การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักสูตร
                    หากพิจารณาระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่  การศึกษาขั้นพื้นฐาน(พิมพ์ครั้งที่ 3), กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว

             มีต่อบทเรียนที่สร้างขึ้นพบว่าอยู่ในระดับพึงพอใจมาก (ค่าเฉลี่ย   กิดานันท์ มลิทอง. (2548ก), เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา.
             = 4.47)  ซึ่งมาจากกระบวนการในการพัฒนาการออกแบบ   กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์
             บทเรียน  โดยผู้วิจัยได้น าวิธีการวางแผนการสอนตาม  กิดานันท์ มลิทอง. (2548ข), ไอซีทีเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์

             กระบวนการของ กาแย่ มาประยุกต์ใช้กับหลักการน าเสนอผ่าน  มหาวิทยาลัย.
             สื่อคอมพิวเตอร์ที่สามารถน าเสนอผ่านสื่อมัลติมีเดียและการ  พระธรรมศักดิ์ เริงเกษตรกรณ์. (2551). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
             ออกแบบปฏิสัมพันธ์  ทั้งนี้ในการออกแบบจะต้องเน้นถึง  มัลติมีเดียเรื่อง กรรมทีปนี ส าหรับนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราช

             จุดประสงค์ที่ต้องการให้ผู้เรียนได้รู้เกิดการเรียนตาม  วิทยาลัย วิทยานิพนธ์
                                                              การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะ
             วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้  อีกทั้งกระบวนการน าเสนอของสื่อต้อง  ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร

             ตรงเป้าหมายที่ต้องการ และสอดคล้องกับเนื้อหาสาระ ท าให้  ศิรวัฒน์ สิงหโอภาส.กัลยาณี เจริญช่าง.และวัลลยา ธรรมอภิบาล
             ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และเข้าใจในบทเรียนได้ง่ายขึ้น   (2559),การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
             8. สรุปผลการวิจัย                                การศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ สงขลา, พฤษภาคม -สิงหาคม 2559.

                    1. ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์วิชาการจัดการ  มหาวิทยาลัยทักษิณ. (2556). คู่มือการศึกษาระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา
             เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพ มีประสิทธิภาพเท่ากับ   2555. สงขลา:มหาวิทยาลัยทักษิณ.
             84.19/86.33 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ ที่ตั้งไว้ 80/80    ระเบียบ บังคมเนตร. (2554). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง
                                                              ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
                    2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ที่เรียนด้วย  2. การค้นคว้าอิสระ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
             บทเรียนออนไลน์ วิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ  คณะเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
             งานอาชีพ สูงขึ้น อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05   ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542), พระราชบัญญัติ

                                                              การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
                                                                     กรุงเทพฯ : ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ


                                                              6
                                                                                                              804
   817   818   819   820   821   822   823   824   825   826   827