Page 821 - Full paper สอฉ.3-62
P. 821
สูตร S = n d 2 − ( ) d 2 ตาราง แสดงผลระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่
d
n ( −n ) 1 เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอน
ระดับ
7. ผลการวิจัย ล าดับ รายการ ค่าเฉลี่ย ความพึง
การพัฒนาบทเรียนออนไลน์วิชาการจัดการ ที่ พอใจ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพ มีผลการศึกษาดังนี้ 1 ด้านเนื้อหา 4.25 มาก
7.1 ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ ด้านภาพ ภาษา และ มาก
วิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพ พบว่า 2 เสียง 4.33
ประสิทธิภาพของบทเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีผลการปฏิบัติ
กิจกรรมระหว่างเรียน มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 84.19 ผลการ 3 ด้านตัวอักษรและสี 4.29 มาก
ปฏิบัติกิจกรรมหลังจาก เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์แล้ว มี 4 ด้านแบบทดสอบ 4.21 มาก
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 86.33 จากผลการทดลองบทเรียนออนไลน์ 5 ด้านการจัดการ มาก
มีประสิทธิภาพเป็นไปตามสมมติฐานของการวิจัยข้อที่ 1 บทเรียน 4.24
กล่าวคือ ประสิทธิภาพของ บทเรียนออนไลน์ วิชาการจัดการ 6 ด้านคู่มือการใช้ มาก
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพ มีมาตรฐานตามเกณฑ์ บทเรียน 4.47
ที่ตั้งไว้ 80/80 เฉลี่ยรวม 4.47 มาก
7.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วย 7. อภิปรายผลการวิจัย
บทเรียนออนไลน์ สูงขึ้น อย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 1. ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ วิชาการ
ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานในข้อที่ 2 จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
7.3 การวิเคราะห์ความพึงพอใจและผลการวิเคราะห์ ผลการวิจัยเพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์
ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ วิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพ พบว่า
สามารถสรุปผลระดับความพึงพอใจได้ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า บทเรียนออนไลน์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีประสิทธิภาพเท่ากับ
จากผลการประเมินความพึงพอใจพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึง 84.19/86.33 ท าให้ผลการหาประสิทธิภาพที่ได้เป็นไปตาม
พอใจต่อบทเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก ระดับ เกณฑ์ ที่ก าหนดไว้ 80/80 เป็นไปตามสมมติฐานของ การวิจัย
คะแนนเฉลี่ยทุกด้านเท่ากับ 4.47 โดยผู้เรียน มีความพึงพอใจ ข้อที่ 1 คือ ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์วิชาการจัดการ
ใน ด้านเนื้อหาของบทเรียน ด้านภาพ ภาษาและเสียง ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพ ทั้งนี้อาจมีสาเหตุมาจาก
ตัวอักษรและสี ด้านแบบทดสอบ ด้านการจัดการบทเรียน และ ผู้เรียนมีความตั้งใจในการศึกษาเนื้อหาบทเรียนในรูปแบบของ
ด้านคู่มือการใช้บทเรียนอยู่ในระดับมาก โดยรวมแล้วมีคะแนน บทเรียนออนไลน์ จึงท าให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาของบทเรียน ได้
เฉลี่ยอยู่ในช่วง 4.21–4.47 คะแนนสูงสุดของกลุ่มระดับความ อย่างรวดเร็วขึ้น และการน าเสนอบทเรียนนั้นมีการน าเสนอ
พึงพอใจมากคือ ด้านคู่มือการใช้บทเรียน (คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ เนื้อหาที่น่าสนใจ เนื้อหามีความ ชัดเจน ถูกต้อง เข้าใจง่าย มี
4.47) รองลงมาคือด้านภาพ ภาษาและเสียง (คะแนนเฉลี่ย การใช้รูปแบบและขนาดของตัวอักษรที่น่าสนใจ สีของ
เท่ากับ 4.33) รองลงมาคือ ด้านตัวอักษรและสี (คะแนนเฉลี่ย ตัวอักษร มีความสวยงาม มีการใช้ภาษาได้เหมาะสมกับวัยของ
เท่ากับ 4.29) รองลงมาคือ ด้านเนื้อหา (คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ผู้เรียน มีการน ามัลติมีเดียมาใช้ เช่น ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วีดิ
4.25) รองลงมาด้านการจัดการบทเรียน (คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ทัศน์ เสียงดนตรี เสียงบรรยาย ที่สวยงาม น่าสนใจ เพื่อเป็นการ
4.24) รองลงมาคือด้านแบบทดสอบ (คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.21) ดึงดูดให้นิสิต ปริญญาตรีเกิดแรงจูงใจในการเรียน โดยผู้วิจัยได้
ทั้งหมดนี้เป็นรายละเอียดการประเมินระดับความพึงพอใจของ มีการวางแผนและออกแบบการผลิตบทเรียน อย่างเป็นล าดับ
ผู้เรียน ขั้นตอนของการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ผ่านการประเมิน
คุณภาพทั้งด้านเนื้อหา และด้านคุณภาพของบทเรียน โดย
5
803