Page 86 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 86
๗๙
ของหนวยงานของรัฐ หรือเจาหนาที่ของรัฐ เพื่อเสนอแนะตอหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของใหขจัด
หรือระงับความเดือดรอน หรือความไมเปนธรรมนั้น
(๓) เสนอตอคณะรัฐมนตรีใหทราบถึงการที่หนวยงานของรัฐยังมิไดปฏิบัติใหถูกตอง
ครบถวนตามหมวด ๕ หนาที่ของรัฐ
ในกรณีที่หนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของไมดําเนินการตามขอเสนอแนะของผูตรวจการแผนดิน
ตาม (๑) หรือ (๒) โดยไมมีเหตุผลอันสมควร ใหผูตรวจการแผนดินแจงใหคณะรัฐมนตรีทราบ
เพื่อพิจารณาสั่งการ ตามที่เห็นสมควรตอไป
ในการดําเนินการตาม (๑) หรือ (๒) หากเปนกรณีที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ใหผูตรวจการแผนดินสงเรื่องใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติดําเนินการตอไป
มาตรา ๒๓๑ ในการปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา ๒๓๐ ผูตรวจการแผนดินอาจเสนอเรื่องตอ
ศาลรัฐธรรมนูญหรือศาลปกครองไดเมื่อเห็นวามีกรณี ดังตอไปนี้
๑. บทบัญญัติแหงกฎหมายใดมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ ใหเสนอเรื่อง
พรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ และใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยโดยไมชักชา ทั้งนี้
ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
๒. กฎ คําสั่ง หรือการกระทําอื่นใดของหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐ มีปญหา
เกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ใหเสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลปกครอง และ
ใหศาลปกครองพิจารณาวินิจฉัยโดยไมชักชา ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งศาลปกครอง และวิธี
พิจารณาคดีปกครอง
ÈÒÅ»¡¤Ãͧ
แนวความคิดที่จะจัดตั้งศาลที่ดูแลคดีทางปกครองแยกออกจากระบบศาลยุติธรรมมีมานาน
แลวในสังคมไทย แตเพิ่งจะเกิดขึ้นจริงเมื่อประกาศใชรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ ซึ่งบัญญัติใหมีการจัดตั้ง
ศาลปกครองขึ้นเพื่อใหเขามาทําหนาที่ชี้ขาดคดีปกครองโดยเฉพาะ ซึ่งเปนขอพิพาทระหวางประชาชน
กับเจาหนาที่ของรัฐในการปฏิบัติหนาที่ หรือระหวางหนวยงานรัฐดวยกันเอง นําไปสูพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒ ในเวลาตอมา
ศาลปกครองมี ๒ ระดับ ไดแก ศาลปกครองสูงสุด และศาลปกครองชั้นตน
ÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´ มีฐานะเปนศาลสูงในระบบศาลปกครอง ซึ่งคดีที่จะขึ้นสูศาลปกครอง
สูงสุดได ตองเกี่ยวของกับคดีพิพาทเรื่องความชอบดวยกฎหมายของพระราชกฤษฎีกาหรือกฎ
ที่ออกโดยคณะรัฐมนตรีหรือโดยความเปนชอบของคณะรัฐมนตรี ตลอดจนคดีที่อุทธรณคําพิพากษา
หรือคําสั่งของศาลปกครองชั้นตนขึ้นมา
ÈÒÅ»¡¤ÃͧªÑé¹μŒ¹ แบงออกเปนศาลปกครองกลาง ดูแลรับผิดชอบเขตกรุงเทพฯ
และจังหวัดในภาคกลาง และศาลปกครองสวนภูมิภาคที่กระจายอยูทั่วประเทศอีกจํานวน ๑๑ แหง