Page 82 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 82

๗๕




                             ขณะนี้ประเทศไทยอยูระหวางจัดทําแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๖๒ -
                 ๒๕๖๖) ซึ่งรางแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ ๔ นั้น จุดเนนสําคัญของแผนฯ ฉบับนี้คือ การผสมผสาน

                 บริบทไทย อาทิ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ยุทธศาสตร (๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
                 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๒ (๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) Thailand 4.0 วาระแหงชาติ
                 ดานสิทธิมนุษยชนกับบริบทระหวางประเทศ อาทิ ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน สนธิสัญญา

                 ระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน
                             สาระสําคัญของแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ ๔ เปาหมายคือ สังคมไทยเปนสังคมที่

                 สงเสริม สิทธิ เสรีภาพ และความเทาเทียม โดยคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ขับเคลื่อนสิทธิมนุษยชน
                 อยางบูรณาการที่ภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาสังคมเพื่อนําไปสูสังคมที่พัฒนาอยางยั่งยืน
                 เนนกลุมเปาหมาย ๑๒ กลุม ไดแก เด็กและเยาวชน ผูสูงอายุ สตรี ผูพิการ เกษตรกร และกลุมแรงงาน

                 ผูปวย ชาติพันธุ ผูไรรัฐและผูแสวงหาที่พักพิง ความหลากหลายทางเพศ นักปกปองสิทธิมนุษยชน
                 ผูตองขัง ผูพนโทษ ผูเสียหาย ผูตกเปนเหยื่อและพยาน
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87