Page 77 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 77

๗๐




              ของรัฐและเปนขอผูกพันของรัฐที่จะตองใหความคุมครองตอศักดิ์ศรีความเปนมนุษย พิจารณาเพิ่มเติม
              ไดจากมาตรา ๒๖ บัญญัติวา “การใชอํานาจโดยองคกรของรัฐทุกองคกร ตองคํานึงถึงศักดิ์ศรี

              ความเปนมนุษย สิทธิ และเสรีภาพ...”
                          ๓.  ในสวนของเนื้อหามีการประกันสิทธิเสรีภาพใหมๆ ไวเปนจํานวนมาก รัฐธรรมนูญ
              สงเสริมคุมครองเสรีภาพในดานตางๆ ของประชาชน โดยเฉพาะอยางยิ่งสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานกําหนด
              ใหชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน (มาตรา ๓๐), สิทธิในกระบวนการยุติธรรมมีเนื้อหาใหมๆ ที่บรรจุ
              เขามา เชน ในคดีอาญาหามจับเมื่อไมมีหมายศาล และเจาหนาที่ตองนําตัวผูถูกจับสงศาลภายใน ๔๘

              ชั่วโมง (มาตรา ๒๓๗), ในคดีอาญาผูตองหาหรือจําเลยยอมมีสิทธิไดรับการสอบสวน หรือพิจารณาคดี
              ดวยความรวดเร็ว ตอเนื่อง และเปนธรรม (มาตรา ๒๔๑)
                          ๔.  มีองคกรคุมครองสิทธิที่ถูกจัดตั้งขึ้นมาใหมจากรัฐธรรมนูญฉบับนี้  อาทิ

              ศาลปกครอง พิจารณาคดีพิพาทเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย การออกกฎ คําสั่ง
              โดยไมชอบดวยกฎหมาย, ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยขอขัดแยงระหวางรัฐธรรมนูญกับกฎหมายอื่น,
              ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา (ชื่อในขณะนั้น) พิจารณาและสอบสวนขอเท็จจริงเกี่ยวกับการปฏิบัติ
              หนาที่ของเจาหนาที่รัฐทุกระดับวาไมปฏิบัติตามกฎหมายหรือกอใหเกิดความเสียหายแกประชาชน

              โดยไมเปนธรรม, คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือการ
              ละเลยการกระทําที่เปนการละเมิดสิทธิมนุษยธรรม


                          ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞáË‹§ÃÒªÍҳҨѡÃä·Â ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõð

                          รัฐธรรมนูญฉบับนี้ถือเปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยที่ผานกระบวนการออกเสียง
              ประชามติ เมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๐ มีผลใชบังคับเมื่อ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ รวมจํานวน ๓๐๙
              มาตรา เนื้อหาโดยรวมสวนใหญยังคงอางอิงรัฐธรรมนูญฉบับป ๒๕๔๐ ทวามีบางสวนที่ไดรับการแกไข
              ขนานใหญ

                          ÊÒÃÐสํา¤ÑÞ·Õ蹋Òʹã¨à¡ÕèÂǡѺàÃ×èͧÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹ã¹ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞ©ºÑº¹Õé 䴌ᡋ
                          ๑. “หมวดสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย” (หมวด ๓) นับเปนหนึ่งในความเปลี่ยนแปลง

              ใหญของเนื้อหาในรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๕๐ โดยถูกแบงหมวดหมูแยกประเด็นสิทธิและเสรีภาพออกเปน
              ๑๓ สวน เพื่อใหชัดเจนและงายตอการทําความเขาใจของประชาชนทั่วไป ๗
                          ๒.  รัฐธรรมนูญนี้ยังมีการบัญญัติศัพทใหมในเนื้อหาเปนครั้งแรก ซึ่งเกี่ยวโยงและสงเสริม
              หลักปฏิบัติเพื่อคุมครองสิทธิมนุษยชนอยูอยางมาก เชน คําวา “หลักนิติธรรม” (มาตรา ๓, มาตรา ๗๘)

              และคําวา “หลักธรรมาภิบาล” (มาตรา ๗๔, มาตรา ๘๔)


              ๗  เชน หมวด ๓ สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย แบงออกเปน ๑๓ สวน เริ่มจาก บททั่วไป (มาตรา ๒๖-๒๙), ความเสมอภาค
               (มาตรา ๓๐-๓๑), สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล (มาตรา ๓๒-๓๘), สิทธิในกระบวนการยุติธรรม (มาตรา ๓๙-๔๐),
                สิทธิในทรัพยสิน (มาตรา ๔๑-๔๒), สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ (มาตรา ๔๓-๔๔), เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
                ของบุคคลและสื่อมวลชน (มาตรา ๔๕-๔๘), สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา (มาตรา ๔๙-๕๐), สิทธิและเสรีภาพในการ
                ไดรับการบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ (มาตรา ๕๑-๕๕), สิทธิในขอมูลขาวสารและการรองเรียน (มาตรา ๕๖-๖๒),
                เสรีภาพในการชุมนุมและสมาคม (มาตรา ๖๓-๖๕), สิทธิชุมชน (มาตรา ๖๖-๖๗), สิทธิพิทักษรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๖๘-๖๙)
                เปนตน
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82