Page 74 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 74

๖๗




                             การขยายตัวของแนวคิด “สิทธิมนุษยชน” ในกรณีของไทยในชวงแรกจึงเปนลักษณะ
                 ของการตอตานหรือตองการลดทอนอํานาจรัฐเพื่อใหกระจายอํานาจลงสูประชาชนมากยิ่งขึ้น เพื่อให

                 ราษฎรทุกคนมีสิทธิและเสรีภาพ และมีฐานะเปนเจาของประเทศรวมกัน ดังปรากฏชัดเจนในประกาศ
                 ของคณะราษฎรฉบับที่ ๑ เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕   ๕

                             การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๕ ถือเปนชวงเวลาสําคัญของสิทธิ
                 มนุษยชนไทย ทําใหราษฎรไดเขาถึงสิทธิเสรีภาพชนิดที่ไมเคยมีมากอน ดังที่ระบุวา “...ราษฎรจะได

                 รับความปลอดภัย ทุกคนจะตองมีงานทํา ไมตองอดตาย ทุกคนจะมีสิทธิเสมอกัน และมีเสรีภาพพน
                 จากการเปนไพร เปนขา เปนทาส พวกเจา...”

                             อยางไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงขนานใหญของสังคมไทยตอประเด็น “สิทธิมนุษยชน”
                 เกิดภายหลังการเขาเปนสมาชิกองคการสหประชาชาติแลว เพราะเทากับยอมรับในหลักการสําคัญ

                 ของสหประชาชาติ นั่นคือ การรักษาสันติภาพ ความสงบสุข และการเคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
                 ทําใหรัฐไทยตองปรับตัวและสรางกลไกในประเทศเพื่อสอดคลองกับเจตนารมณขององคกรในฐานะชาติ

                 สมาชิก

                             การประกาศใชปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (The Universal Declaration of
                 Human Rights) เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๔๘ เปนการทําใหนิยามสิทธิมนุษยชนที่คอนขาง
                 เปนนามธรรมมีความชัดเจนยิ่งขึ้น แนวทางปฏิบัติของอนุสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน

                 หลายๆ ฉบับที่ออกตามมา ประเทศสมาชิกองคการสหประชาชาติจากทั่วทุกมุมโลก รวมทั้งรัฐไทย

                 ที่เขารวมเปนภาคีจึงตองขอขยับขยายบทบาทในประเทศเพื่อแสดงวาไดนําหลักการสิทธิมนุษยชน
                 มาใชในทางปฏิบัติ

                             นอกจากปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนแลว สนธิสัญญาระหวางประเทศที่เกี่ยวของ
                 กับสิทธิมนุษยชนโดยการรับรองของสหประชาชาติฉบับสําคัญที่ประเทศไทยเขารวมเปนภาคี และให

                 สัตยาบันมีจํานวนทั้งสิ้น ๗ ฉบับ ไดแก








                 ๕   ขาราชการ ทหาร และพลเรือนระดับกลางจํานวน ๑๐๒ คน ในนามของ “คณะราษฎร” ไดทําการยึดอํานาจจากพระบาทสมเด็จ
                   พระปกเกลาเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๗ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยไปสูระบอบประชาธิปไตย
                   และออกประกาศคณะราษฎรฉบับที่ ๑ และวางหลัก ๖ ประการ ดังนี้
                   ๑.  จะตองรักษาความเปนเอกราชทั้งหลายของประเทศไวใหมั่นคง
                   ๒.  จะตองรักษาความปลอดภัยภายในประเทศ
                   ๓.  ตองบํารุงความสุขสมบูรณของราษฎรในทางเศรษฐกิจ
                   ๔.  ตองใหราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน (ไมใชพวกเจามีสิทธิยิ่งกวาราษฎรเชนที่เปนอยูนี้)
                   ๕.  จะตองใหราษฎรไดมีเสรีภาพ มีความเปนอิสระ
                   ๖.  จะตองใหการศึกษาอยางเต็มที่แกราษฎร
                    สรุปจากธเนศ อาภรณสุวรรณ, หนา ๙๖-๙๙.
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79