Page 78 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 78

๗๑




                             ๓.  มีการระบุประเด็นสิทธิเสรีภาพใหมๆ เขามาในรัฐธรรมนูญดวย เชน มาตรา ๕๕ ระบุวา
                 บุคคลซึ่งไรที่อาศัยและไมมีรายไดเพียงพอแกการยังชีพ ยอมมีสิทธิไดรับความชวยเหลือที่เหมาะสม
                 จากรัฐ, ใหสิทธิอํานาจแกพลเมืองมากขึ้น เชน มีการเปดโอกาสใหประชาชน ๕๐,๐๐๐ คน เขาชื่อ

                 เพื่อเสนอขอแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญได ตามมาตรา ๒๙๑ และลดจํานวนเพื่อมีสิทธิเสนอชื่อแกไข
                 กฎหมายลงเหลือจาก ๕๐,๐๐๐ ชื่อ เหลือเพียง ๑๐,๐๐๐ คน ดังระบุในมาตรา ๑๖๓



                             ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞáË‹§ÃÒªÍҳҨѡÃä·Â©ºÑºªÑèǤÃÒÇ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõ÷

                             มีเพียง ๔๘ มาตรา บทบัญญัติวาดวยสิทธิเสรีภาพ และประเด็นเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
                 ถูกกําหนดไวในมาตรา ๔ มาตราเดียว โดยมีขอความวา “ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้
                 ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาค บรรดาที่ชนชาวไทยเคยไดรับการคุมครอง

                 ตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

                 และตามพันธกรณีระหวางประเทศที่ประเทศไทยมีอยูแลว ยอมไดรับการคุมครองตามรัฐธรรมนูญนี้”
                 เนื้อหาที่เกี่ยวของกับสิทธิเสรีภาพจึงถูกลดทอนลงเปนอยางมาก และถูกผนวกรวมใหเหลือเพียง

                 มาตราเดียวเทานั้น ซึ่งยอมกอใหเกิดความคลุมเครือในการใชการตีความได แตถึงกระนั้น รัฐก็ตองให
                 ความใสใจตอสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน และยืนยันดวยลายลักษณอักษรวาพันธกรณีระหวางประเทศ

                 ดานสิทธิมนุษยชนที่ไทยเคยเขารวมยังจะตองไดรับความคุมครองตอไป



                             ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞáË‹§ÃÒªÍҳҨѡÃä·Â ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõöð
                             รัฐธรรมนูญฉบับที่ ๒๐ ของประเทศไทยที่ผานการลงประชามติเห็นชอบรางรัฐธรรมนูญ

                 ที่รางขึ้นโดยคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญ (กรธ.) และมีผลประกาศใชเมื่อ ๖ เมษายน ๒๕๖๐
                 ดวยเนื้อหาทั้งสิ้นจํานวน ๒๗๙ มาตรา

                             ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ·Õ蹋Òʹã¨à¡ÕèÂǡѺàÃ×èͧÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹ã¹ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞ©ºÑº¹Õé 䴌ᡋ
                             ๑.  ระบุหลักการสําคัญของสิทธิมนุษยชน ไวในมาตรา ๔ ซึ่งระบุวา “ศักดิ์ศรีความเปน

                 มนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลยอมไดรับความคุมครอง ปวงชนชาวไทย
                 ยอมไดรับความคุมครองตามรัฐธรรมนูญเสมอกัน”

                             ๒.  ประเด็นสิทธิเสรีภาพถูกกําหนดไวใน หมวด ๓ “สิทธิและเสรีภาพของปวงชน
                 ชาวไทย” มาตรา ๒๕-๔๙ ซึ่งระบุถึงสิทธิเสรีภาพในหลายๆ ดาน อาทิ ความเสมอภาคทางเพศ,

                 สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรางกาย, สิทธิในกระบวนการยุติธรรม, เสรีภาพในการนับถือศาสนา,
                 สิทธิในความเปนสวนตัว, เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น, เสรีภาพของสื่อ, เสรีภาพในการเดินทาง,

                 เสรีภาพในการประกอบอาชีพ, สิทธิชุมชน, เสรีภาพในการชุมชน, สิทธิผูบริโภค เปนตน
                             ๓.  ในรัฐธรรมนูญฉบับนี้แมจะมีการใหสิทธิเสรีภาพแกประชาชนแตก็กํากับการใชสิทธิ

                 เสรีภาพนั้นดวยคําวา “ตองไมเปนปฏิปกษตอหนาที่ของปวงชนชาวไทย”
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83