Page 81 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 81

๗๔




                          ÊÒÁ ÂØ·¸ÈÒÊμÏ´ŒÒ¹¡ÒþѲ¹Ò¡®ËÁÒ ปรับปรุงแกไขกฎหมายใหสอดคลองกับสิทธิ
              และเสรีภาพตามที่กําหนดในรัฐธรรมนูญไทย และเปนไปตามเจตนารมณแหงพันธะสัญญาระหวาง

              ประเทศดานสิทธิมนุษยชนที่ไทยรวมลงนาม โดยอาศัยการรวมแสดงความคิดเห็นของประชาชน
              กลุมตางๆ ยุทธศาสตรนี้ยังมุงใหเกิดการบังคับใชกฎหมายอยางเปนธรรมอีกดวย
                          ÊÕè ÂØ·¸ÈÒÊμÏ´ŒÒ¹¡ÒþѲ¹Òà¤Ã×Í¢‹Ò สงเสริมการมีสวนรวมและพัฒนาเครือขายภาครัฐ

              เอกชนและประชาชน ทั้งในระดับประเทศและระดับชาติในการปกปองคุมครองสงเสริมสิทธิมนุษยชน
              ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ พัฒนาบุคลากรใหมีความรูทักษะในการปกปองคุมครองสิทธิดานตางๆ

              และพัฒนาองคความรูดานสิทธิมนุษยชนในบริบทของสังคมไทย โดยเฉพาะเจาหนาที่รัฐ ตองเขาใจพื้นฐาน
              ทางดานวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่แตกตาง เพื่อมิใหลวงละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชน



                          á¼¹ÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹áË‹§ªÒμÔ ©ºÑº·Õè ó (¾.È.òõõ÷-òõöñ)
                          ประกาศใชเมื่อวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เปาหมายสําคัญคือ ทําใหสังคม

              ไทย “เปนสังคมที่สงเสริม สิทธิ เสรีภาพ และความเทาเทียม โดยคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
              เพื่อนําไปสูสังคมสันติสุข” โดยครอบคลุมประเด็นสิทธิมนุษยชน ๑๑ ดาน ไดแก สาธารณสุข,
              การศึกษา, เศรษฐกิจ, ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, ที่อยูอาศัย, วัฒนธรรมและศาสนา,

              ขอมูลขาวสาร ขาวสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, ขนสง, การเมืองการปกครอง, กระบวนการ
              ยุติธรรม, ความมั่นคงทางสังคม และมีกลุมเปาหมาย ๑๕ กลุม ไดแก ผูตองหา/ผูตองขัง,

              ผูพนโทษ, ผูตองหาคดียาเสพติด, เหยื่อ/ผูเสียหาย, ผูติดเชื้อ HIV/เอดส, ผูใชแรงงาน, คนจน/ผูไดรับ
              ผลกระทบจากการพัฒนา, เกษตรกร, ผูสูงอายุ, เด็กและเยาวชน, สตรี, คนพิการ, ผูไรรัฐ ชาติพันธุ
              และกลุมผูแสวงหาที่พักพิงหรือผูหนีภัยการสูรบ, ผูไดรับผลกระทบจากสถานการณความรุนแรง

              และกลุมหลากหลายทางเพศ/อัตลักษณทางเพศ
                          ตัวอยางที่เปนรูปธรรมหนึ่งอันเปนผลของรัฐธรรมนูญ  พ.ศ.๒๕๔๐  คือ  การตั้ง

              “กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ”  ขึ้นในสังกัดกระทรวงยุติธรรม เมื่อป ๒๕๔๕ มีภารกิจหลักเกี่ยวกับ
              การดูแลสิทธิและเสรีภาพที่ประชาชนพึงไดรับตามกฎหมาย โดยการจัดวางระบบและสงเสริม
              ใหประชาชนมีความรูเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพ ตลอดจนการดําเนินการใหพยาน ผูเสียหาย

              และจําเลยในคดีอาญาไดรับการคุมครองชวยเหลือเยียวยาในเบื้องตน
                          อีกทั้งยังนําไปสูการตรา “พระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ.๒๕๕๘” ตั้งกองทุนยุติธรรม

              ขึ้นมาชวยเหลือผูขาดโอกาสทางทุนทรัพยในการตอสูคดี เชน คาใชจายทนาย คาธรรมเนียมศาล
              และการใชเงินจากกองทุนเปนหลักทรัพยในการประกันตัว ๙




              ๙  รายงานผลการปฏิบัติงานของกองทุนยุติธรรม ประจําป ๒๕๕๘ พบวามีผูยื่นคําขอรับความชวยเหลือ ๔,๕๔๒ ราย
                จายเงินชวยเหลือไปแลว ๓,๖๒๕ ราย เปนเงิน ๑๗๖,๕๑๒,๙๖๔ บาท กวารอยละ ๘๐ ใชเพื่อเปนเงินประกันตัว
                โดยคดีลักทรัพย, บุกรุก และพยายามฆา มีผูยื่นขอเงินชวยเหลือมากเปนสามอันดับแรก กรุงเทพฯ และจังหวัดในภาคกลาง
                ยื่นคําขอมาเปนลําดับตนๆ
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86