Page 84 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 84

๗๗




                             ๔.  มีความรูและประสบการณดานการบริหารงานภาครัฐที่เกี่ยวกับการสงเสริมและ
                 คุมครองสิทธิมนุษยชน

                             ๕.  มีความรูและประสบการณดานปรัชญา วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของไทย
                 เปนที่ประจักษที่จะยังประโยชนในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน

                             กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ มีวาระการดํารงตําแหนงเจ็ดปนับแตวันที่พระมหากษัตริย
                 ทรงแตงตั้งและใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว นอกจากนี้ ยังมีสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน

                 แหงชาติ เปนสวนราชการและมีฐานะเปนนิติบุคคล อยูภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการ
                             â¤Ã§ÊÌҧสํา¹Ñ¡§Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹áË‹§ªÒμÔ

                             แบงออกเปน ๙ สํานัก ไดแก สํานักบริหารกลาง สํานักกิจการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
                 แหงชาติ สํานักคุมครองสิทธิมนุษยชน สํานักสงเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน สํานักเฝาระวัง

                 และประเมินสถานการณสิทธิมนุษยชน สํานักมาตรฐานและติดตามการคุมครองสิทธิมนุษยชน
                 สํานักสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ สํานักกฎหมาย และสํานักดิจิทัลสิทธิมนุษยชน นอกจากนี้

                 ยังมีหนวยตรวจสอบภายใน ๑ หนวย
                             อํา¹Ò¨Ë¹ŒÒ·Õè

                             (๑)  ตรวจสอบและรายงานขอเท็จจริงที่ถูกตองเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนทุกกรณี
                 โดยไมลาชาและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสมในการปองกันหรือแกไขการละเมิด

                 สิทธิมนุษยชน รวมทั้งการเยียวยาผูไดรับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนตอหนวยงาน

                 ของรัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวของ
                             (๒)  จัดทํารายงานผลการประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนของประเทศเสนอตอ

                 รัฐสภา และคณะรัฐมนตรี และเผยแพรตอประชาชน
                             (๓)  เสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนตอรัฐสภา

                 คณะรัฐมนตรี และหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมตลอดทั้งการแกไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือ
                 คําสั่งใดๆ เพื่อใหสอดคลองกับหลักสิทธิมนุษยชน

                             (๔)  ชี้แจงและรายงานขอเท็จจริงที่ถูกตองโดยไมชักชาในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ
                 เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไมถูกตองหรือไมเปนธรรม

                             (๕)  สรางเสริมทุกภาคสวนของสังคมใหตระหนักถึงความสําคัญของสิทธิมนุษยชน
                             (๖)  หนาที่และอํานาจอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ

                             เมื่อรับทราบรายงานตาม (๑) และ (๒) หรือขอเสนอแนะตาม (๓) ใหคณะรัฐมนตรีดําเนินการ
                 ปรับปรุงแกไขตามความเหมาะสมโดยเร็ว กรณีใดไมอาจดําเนินการไดหรือตองใชเวลาในการดําเนินการ

                 ใหแจงเหตุผลใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติทราบโดยไมชักชา ในการปฏิบัติหนาที่
                 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตองคํานึงถึงความผาสุกของประชาชนชาวไทยและผลประโยชน

                 สวนรวมของชาติเปนสําคัญดวย
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89