Page 79 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 79

๗๒



                                                    μ͹·Õè ô.ó
                                            á¼¹ÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹áË‹§ªÒμÔ




              ËÑÇàÃ×èͧ
                          ๔.๓   แผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ


              á¹Ç¤Ô´

                          การจัดทําแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติเกิดจากการเขารวมประชุมเวทีระดับโลกวาดวย
              สิทธิมนุษยชนที่จัดขึ้นในกรุงเวียนนา เมื่อป ๒๕๓๖ การประชุมนี้สงผลใหบรรยากาศดานสิทธิมนุษยชน

              เบงบาน แผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติจึงเปนขอกําหนดใหหนวยงานรัฐเรงสรางมาตรการสงเสริม
              สิทธิมนุษยชน


              ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤

                          เมื่อ นสต. ไดเรียนรูหนวยที่ ๔.๓ แลว นสต. สามารถ
                          อธิบายความสําคัญและสาระสําคัญของแผนสิทธิมนุษยชนตอการสงเสริมแนวคิด

              สิทธิมนุษยชน


                          á¼¹ÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹áË‹§ªÒμÔ

                          การจัดทําแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติเกิดจากการเขารวมประชุมเวทีระดับโลกวาดวย
              สิทธิมนุษยชนที่จัดขึ้นในกรุงเวียนนา เมื่อป ๒๕๓๖ การประชุมนี้สงผลใหบรรยากาศดานสิทธิมนุษยชน
              เบงบาน พรอมความหวังวาความขัดแยงจนนําไปสูความสูญเสียจากสงครามโลก ตามดวยสงครามเย็น

              ที่เพิ่งจะสิ้นสุดลงจะไมเกิดขึ้นอีก รูปธรรมจากผลการประชุมคือ การประกาศ “ปฏิญญาเวียนนา”
              (Vienna Declaration) สาระสําคัญของปฏิญญาดังกลาวเนนถึงความจําเปนในการสรางอนาคตรวมกัน
              บนพื้นฐานของความเปนมนุษยชาติที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ยังมีขอกําหนดใหรัฐตางๆ พิจารณา

              จัดทํารางแผนปฏิบัติการแหงชาติดานสิทธิมนุษยชนของประเทศตนเองขึ้นดวย


                          á¼¹ÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹áË‹§ªÒμÔ ©ºÑº·Õè ñ (¾.È. òõôô-òõôø)

                          ประเทศไทยไดดําเนินการจัดทําแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติขึ้นเปนครั้งแรกในป ๒๕๔๓
              ใชเปนแผนแมบทในการดําเนินนโยบายดานการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนของภาครัฐ
              รวมถึงแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนใหเปนไปตามมาตรฐานสากล ขณะเดียวกันก็คํานึงถึง

              ความเหมาะสมของสังคมไทยดวย โดยในการจัดทําแผนฯ ไดนําปจจัยพื้นฐานทางสังคม วัฒนธรรม
              ตลอดจนสภาพปญหาในประเทศมาพิจารณาประกอบ ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีไดใหความเห็นชอบ

                                                                                                   ๘
              แผนฉบับดังกลาว เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๔๓ เพื่อใหมีผลใชบังคับระหวางป ๒๕๔๔-๒๕๔๘
              ๘  แมตามแผนจะครอบคลุมระยะเวลา ๔ ป แตก็ถูกใชตอเนื่องในชวงระหวางที่กระบวนการจัดทําแผนฉบับที่ ๒ ยังไมแลวเสร็จ
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84