Page 75 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 75
๖๘
๑. อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ เปนภาคี ๙ ส.ค.๒๕๒๘
(Convention on the Elimination of All Forms of บังคับใช ๘ ก.ย. ๒๕๒๘
Discrimination against Women : CEDAW)
๒. อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก เปนภาคี ๒๗ มี.ค. ๒๕๓๕
(Convention on the Rights of the Child : CRC) บังคับใช ๒๖ เม.ย. ๒๕๓๕
๓. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เปนภาคี ๒๙ ต.ค. ๒๕๓๙
(International Covenant on Civil and Political Rights : บังคับใช ๓๐ ม.ค. ๒๕๔๐
ICCPR)
๔. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิ ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เปนภาคี ๕ ก.ย. ๒๕๔๒
(International Covenant on Economic, Social and Cultural บังคับใช ๕ ธ.ค. ๒๕๔๒
Rights : ICESCR)
๕. อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ เปนภาคี ๒๘ ม.ค. ๒๕๔๖
ในทุกรูปแบบ บังคับใช ๒๗ ก.พ. ๒๕๔๖
(International Convention on the Elimination of All Forms
of Racial Discrimination : ICERD)
๖. อนุสัญญาตอตานการทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่น เปนภาคี ๒ ต.ค. ๒๕๕๐
ที่โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือยํ่ายีศักดิ์ศรี บังคับใช ๑ พ.ย. ๒๕๕๐
(Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman
or Degrading Treatment or Punishment : CAT)
๗. อนุสัญญาวาดวยสิทธิของคนพิการ เปนภาคี ๒๙ ก.ค. ๒๕๕๑
(Convention on the Rights of Persons with Disabilities บังคับใช ๒๘ ส.ค. ๒๕๕๑
: CRPD)
การเปนสมาชิกองคการสหประชาชาติ และการเขารวมภาคีสนธิสัญญาระหวางประเทศ
ขางตน การเขารวมประชุมระดับนานาชาติตางๆ ลวนเปนสวนสําคัญผลักดันใหมีความเปลี่ยนแปลง
ภายในประเทศในประเด็นดานสิทธิมนุษยชนในระดับโครงสรางหลายมิติ อาทิ บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ,
แผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ, การตรา แกไข และเพิ่มเติมกฎหมายหลายฉบับ เพื่อใหสอดคลองเปนไป
ตามมาตรฐานสากลมากยิ่งขึ้น
¡Ô¨¡ÃÃÁ
ประเทศไทยไดยอมรับหลักการสิทธิมนุษยชนสากลในรูปแบบใด และสงผลตอประเทศ
อยางไรบาง