Page 72 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 72

๖๕



                                                        μ͹·Õè ô.ñ
                                          ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹¢Í§ÃÑ°ä·Â




                 ËÑÇàÃ×èͧ
                             ๔.๑  พัฒนาการสิทธิมนุษยชนของรัฐไทย

                 á¹Ç¤Ô´
                             สําหรับประเทศไทยมีพัฒนาการดานสิทธิมนุษยชนที่สอดคลองไปกับความเปลี่ยนแปลง

                 ของกระแสสิทธิมนุษยชนของโลกเชนเดียวกัน โดยมีชวงเวลาตั้งแตการเขาเปนสมาชิกองคการรักษา
                 สันติภาพของโลก คือ สหประชาชาติ (United Nations) เปนจุดสําคัญในการจัดระเบียบรัฐใหเปนไป

                 ตามหลักการสิทธิมนุษยชนสากล



                 ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤
                             เมื่อ นสต. ไดเรียนรูหนวยที่ ๔.๑ แลว นสต. สามารถอธิบายพัฒนาการสิทธิมนุษยชน

                 ของรัฐไทยไดอยางถูกตอง



                             ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹¢Í§ÃÑ°ä·Â
                             แมวาโดยรากฐานของแนวคิด “สิทธิมนุษยชน” จะมาจากฝากฝงโลกตะวันตกซึ่งสามารถ

                 อธิบายยอนกลับไปไดถึงปรัชญาเกาแกในยุคกรีกอยางเรื่อง “สิทธิมนุษยชน” (Natural rights)

                 ที่มองวามนุษยทุกคนมีสิทธิบางอยางติดตัวตั้งแตถือกําเนิดขึ้นมา ดังที่อธิบายไวในบทที่หนึ่ง แนวคิด
                 “สิทธิธรรมชาติ” คอยๆ ไดรับการรับรูและขยายวงกวางตามชวงสมัยแหงพัฒนาการของสังคมโลก
                 จนเห็นผลอยางเปนรูปธรรม และไดพัฒนาสูความเปนสากลในปจจุบัน

                             สําหรับประเทศไทยเองก็มีพัฒนาการดานสิทธิมนุษยชนที่คอนขางสอดคลองไปกับ

                 ความเปลี่ยนแปลงของโลกเชนเดียวกัน ถึงกระนั้นตองเขาใจกอนวา ประเด็นเรื่อง “สิทธิ” ในประวัติศาสตรไทย
                 มีความเปนมายาวนาน แตเปนสิทธิที่ไดมาและมีอยูตามฐานะและยศถาบรรดาศักดิ์ ซึ่งลักษณะ

                 เชนนี้มีฐานความคิดตางไปจากอุดมการณ “สิทธิมนุษยชน”อยางไรก็ดี พัฒนาการเรื่องสิทธิใน
                 สังคมไทยมีมาตอเนื่อง โดยเฉพาะการรับรูในอุดมการณ สิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคของกลุม

                 คนรุนใหมที่มีอิทธิพลตอสังคม และใหความสําคัญกับกลุมสามัญชนมากขึ้น จึงเกิดการเรียกรอง
                 ความเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสราง เพื่อเปลี่ยนผานไปสูสังคมที่ใหความหมายตอสิทธิความเปนมนุษย
                                                                                                          ๑
                 แมจะยังไมมีลักษณะสมบูรณตามคติตะวันตก แตก็ไดสรางความเปลี่ยนแปลงแกสังคมไทยอยูไมนอย




                 ๑   สรุปจาก ธเนศ อาภรณสุวรรณ, กําเนิดและความเปนมาของสิทธิมนุษยชน, (กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพคบไฟ, ๒๕๔๙),
                   หนา ๑๕-๕๘.
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77