Page 76 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 76
๖๙
μ͹·Õè ô.ò
ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞ
ËÑÇàÃ×èͧ
๔.๒ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
á¹Ç¤Ô´
รัฐธรรมนูญถือเปนกติกาสูงสุดของประเทศในการกําหนดกรอบนโยบาย กฎหมาย
กฎระเบียบตางๆ ดังนั้นเนื้อหาและเจตนารมณแหงรัฐธรรมนูญจึงมีความสําคัญอยางยิ่งตอการสงเสริม
และสนับสนุนสิทธิมนุษยชนใหเปนรูปธรรม
ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤
เมื่อ นสต. ไดเรียนรูหนวยที่ ๔.๒ แลว นสต. สามารถ
อธิบายความสําคัญของรัฐธรรมนูญตอการสงเสริมแนวคิดสิทธิมนุษยชน
ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞáË‹§ÃÒªÍҳҨѡÃä·Â
หากถามวา “สิทธิมนุษยชน” ไดรับการรับรองชัดแจงโดยกฎหมายที่มีสถานะสูงสุดเปนครั้งแรก
เมื่อใดนั้น คงตองหยิบยกรัฐธรรมนูญฉบับป ๒๕๔๐ ขึ้นมาพิจารณากอน จากนั้นจึงคอยกลาวถึง
รัฐธรรมนูญฉบับป ๒๕๕๐ และรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน พ.ศ.๒๕๖๐
ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞáË‹§ÃÒªÍҳҨѡÃä·Â ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôð
กําเนิดขึ้นบนแนวคิด “ปฏิรูปการเมือง” (Political reform) ประชาชนเขามามีสวนรวม
ในกระบวนการยกรางรัฐธรรมนูญมากมายอยางที่ไมเคยมีมากอน จนไดรับการกลาวถึงวาเปน
“รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” รัฐธรรมนูญฉบับนี้นับเปนรัฐธรรมนูญฉบับที่ ๑๖ ของไทย ประกาศใช
เมื่อ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๐ มีทั้งสิ้น ๓๓๖ มาตรา
ความโดดเดนในดานสิทธิมนุษยชนของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ คือ
๑. คําปรารภมีขอความชัดเจนระบุวา “รัฐธรรมนูญฉบับนี้มีสาระสําคัญเพื่อสงเสริม
คุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ใหประชาชนมีสวนรวมในการปกครองและตรวจสอบ
อํานาจรัฐมากขึ้น”
๒. ที่สําคัญมีการใชคําวา “ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย” (มาตรา ๔ หมวดทั่วไป) อันเปน
หลักการสําคัญของสิทธิมนุษยชนเปนครั้งแรกในรัฐธรรมนูญของประเทศไทย จึงถือเปนเจตนารมณ
๖
๖ คําวาศักดิ์ศรีความเปนมนุษยถูกระบุครั้งแรกในรัฐธรรมนูญครั้งแรกของโลก คือ รัฐธรรมนูญเยอรมัน ซึ่งมีประวัติศาสตร
อันเจ็บปวดจากการเขนฆาชีวิตผูคนในชวงสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด เยอรมันรางรัฐธรรมนูญ
ฉบับ ๑๙๔๙ (หาปใหหลังจากสงครามสิ้นสุด) ไดบทบัญญัติในมาตรา ๑ วา ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยเปนสิ่งที่ไมอาจลวงละเมิดได
เปนภาระหนาที่ของรัฐที่จะตองใหความเคารพและใหความคุมครองตอศักดิ์ศรีความเปนมนุษย, บรรเจิด สิงคะเนติ,
หลักพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย, (กรุงเทพฯ : วิญูชน, ๒๕๕๘), หนา ๘๖-๘๗.