Page 44 - Bang rak111
P. 44

37




                               1. ประวัติความเปนมา
                                 เปนมัสยิดที่2  ของประเทศไทย โดยตั้งชื่อเพื่อเปนเกียรติแกผูเปนบิดาของฮัจยียูซุบ
                       บาฟาเด็ล คือ เช็ค ฮารูณบาฟาเด็ล ตั้งแตวันนั้นมาเมื่อกวา 150  ปกอนหรืออาจจะกวา 200  ปกอน
                       ดวยซ้ําไป มีหมูบานที่ตั้งอยูริมฝงแมน้ําเจาพระยาฝงตะวันออก(ที่เปนสถานีตํารวจดับเพลิบางรักใน

                       ปจจุบัน) มีชื่อวาหมูบานตนสําโรง ไมสามารถคนควาไดวาหมูบานนี้มีมาตั้งแตยุคใดสมัยใดเลาตอกัน
                       มาหลายชั่วคนวาเปนหมูบานที่มีชาวไทย นับถือศาสนาอิสลามอาศัยอยูที่ริมฝงแมน้ําเจาพระยาแหงนี้
                       มีมัสยิดหลังหนึ่งสรางดวยไมอยูที่นี่ มัสยิดริมฝงแมน้ําแหงนี้จึงถูกเรียกกันตามชื่อของหมูบานคือ
                       มัสยิดตนสําโรง ไมมีใครทราบขอเท็จจริงวาทําไมหมูบานนี้ และมัสยิดหลังนี้จึงถูกเรียกชื่อวา“ตน

                       สําโรง” (อาจจะมีตนไมชนิดหนึ่ง ที่เรียกวาตนสําโรงอยูในบริเวณนั้น) มัสยิดนี้เปนตนกําเนิดของมัสยิด
                       ฮารูณ และ มีความเปนมาจากการบันทึกของ นายวิทยา เรสลี ผูพยายามคนควาหาขอมูล และ
                       ประวัติของบรรพบุรุษของตนเองจึงเปนประวัติศาสตรที่เกี่ยวพันกับมัสยิดฮารูณอยางนาสนใจกวา
                       150 ปมาแลวขณะนั้นมีหมูบานตนสําโรง และ มัสยิดตนสําโรงอยูแลว เมื่อ ฮ.ศ.1257(ป พ.ศ.2380)มี

                       ชายผูหนึ่งชื่อ มูซา บาฟาเด็ล เปนชาวอินโดนีเซีย เชื้อสายอาหรับหรือเปอรเซีย บานเกิดที่เมืองปนติ
                       ยานะห อยูทางใตของเกาะบอรเนียว เปนพอคาวาณิชย ทําการคาโดยทางเรือ ใชเรือใบเปนพาหนะ
                       เดินทางคาขายระหวางประเทศสยาม มาลายู และอินโดนีเซีย มีความสนใจในประเทศสยามเปนพิเศษ

                       เดินเรือทําการคาไปๆ มาๆ เปนเวลาหลายแรมป ในขณะลองเรือคาขายก็ไดสอดสองตามริมแมน้ํา
                       เจาพระยาเรื่อยมา ตองการหาทําเลที่เหมาะสมตามที่ใจรักเพื่ออนาคตและสวนหนึ่งคือการธรรมจาริก
                       ศาสนาอิสลามไปดวย สุดทายจึงตัดสินใจขึ้นฝงตั้งถิ่นฐานถาวรยังริมชายฝงแมน้ําเจาพระยา ทางทิศ
                       ตะวันออกซึ่งมีชื่อเรียกในสมัยนั้นวา “หมูบานตนสําโรง”
                                 ในระหวางที่เดินเรือทําการคาระหวางประเทศอยูนั้น ไดนําบุตรชายทั้ง 3 คนติดตามผู

                       เปนบิดาไปดวยตลอดมา มีความประสงคเพื่อฝกฝนใหมีความรู ความชํานาญ ในการคามากยิ่งขึ้นเพื่อ
                       ไดเจริญรอยตามบิดาภายหนาตอไป บุตรชายทั้ง 3 มีนามวา ฮารูณอุสมาน และอิสฮาก เมื่อตั้งถิ่นฐาน
                       และเรียนทําการคาจากผูเปนบิดาแลว บุตรทั้ง3จึงไดเดินทางทําการคาดวยความสามารถของตนเอง

                                 อุสมาน มุงหนาไปทําการคา ยังประเทศมาเลเซีย รัฐเคดะหอลอสตาร เปนเมืองที่ใกล
                       ชายแดนประเทศสยาม ตอมาก็ไดภรรยาที่นั่น และตั้งถิ่นฐานอยูที่นั่นอิสฮาก ไดเดินทางไปคาขายยัง
                       ประเทศเขมร และไดตั้งถิ่นฐานอยูยังประเทศเขมร ฮารูณ บุตรชายผูนี้ก็เดินทางคาขายระหวาง
                       ประเทศสยาม และมาลายูไปๆ มาๆ และขออาศัยอยูรวมกับบิดายังประเทศสยาม และเปนผูดูแล

                       การคาแทนบิดาตลอดมา ไดเดินทางทําการคาระหวางเมืองบางกอก (กรุงเทพมหานคร) กับกรุงเกา
                       (อยุธยา) ระหวางขึ้นๆ ลองๆ ทําการคาไดพบหญิงกรุงเกาผูหนึ่งมีนามวาอําแดงพุม ภายหลังจึงได
                       แตงงานกัน ตอมาจึงไดกําเนิดบุตรชายคนหนึ่ง ไดตั้งชื่อวา “มูฮัมหมัดยูซุบ”
                                 หลังจากทานมูซา บาฟาเด็ลบิดาของฮารูณ ไดถึงแกกรรมแลวที่หมูบานตนสําโรง ฮารูณ

                       ผูเปนบุตรชายคนเดียวที่อยูในประเทศสยาม จึงเปนผูรับชวงดูแลทรัพยสินทั้งหมดของบิดาแตผูเดียว
                       ตลอดมา และไดเลี้ยงดูบุตรชายของทานคือ “มูฮัมหมัดยูซุบ” เปนอยางดีจนกระทั่งเปนหนุม วันที่ 12
                       เดือน รอบิอุลเอาวัล ฮ.ศ.1299 (ปพ.ศ.2422) ทานไดทําบุญ และไดเชิญแขกระดับผูใหญของหมูบาน
                       ตางๆ มาดวย เมื่อหลังจากเลี้ยงอาหารแลวจึงประชุมระดับผูใหญใหเปนพยาน เนื่องดวยวันนี้ ทานมี

                       ความประสงคจะทําบันทึกพินัยกรรมมอบหมายใหบุตรชายคนเดียวของทาน คือ “มูฮัมหมัดยูซุบ”
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49