Page 46 - Bang rak111
P. 46
39
ฮ.ศ.1319 (ปพ.ศ.2442) ระหวางปกครองหมูบานตนสําโรงสืบทอดจากเช็คฮารูณผูเปน
บิดาผานมาหลายปทางรัฐบาลโดยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 5 เห็นวาที่ดินริมฝงแมน้ํา
เจาพระยาดานทิศตะวันออก ซึ่งทางทิศใตติดกับสถานฑูตประเทศฝรั่งเศส ทางทิศเหนือติดกับวัดมวง
แค ผืนนี้ซึ่งเปนที่อยูอาศัยของชุมชมชาวไทยมุสลิมที่มีชือวา หมูบานตนสําโรงนี้ เปนทําเลที่เหมาะแก
การที่จะใชเปนสถานที่สรางกรมรอยชักสาม หรือโรงเก็บภาษี ตอมาเปลี่ยนชื่อเปน กรมศุลกากร
เพราะสมัยนั้นการนําสินคาเขามาจากตางประเทศโดยทางเรือ และที่ดินผืนนี้อยูใกลแหลงความเจริญ
ของพอคาวาณิชยรัฐบาลจึงสงเจาหนาที่มาเจรจากับ ฮัจยียูซุบ (ตวนโส) ขอแลกเปลี่ยนที่ดินที่ดินริมฝง
น้ําทั้งหมดกับที่ดินที่เปนที่ดินของตนสําโรง โดยมีเงื่อนไขยินยอมอนุญาตใหชาวบานเดิมที่ตองยายจาก
ริมน้ําเขามาอยูดานในมีสิทธิ์ผานเขาออกไปทาน้ําเจาพระยาหนากรมรอยชักสาม (กรมศุลกากร) โดย
เสรีไดทุกเวลา และใหมีสิทธิ์ใชทาน้ําเหมือนเดิม
ชาวหมูบานตนสําโรง ที่เคยอยูริมน้ําจึงไดถอยเขามาอยูยังที่ใหมหางจากฝงแมน้ํา
ประมาณ 100 เมตรเศษจนเปนหมูบานฮารูณตราบเทาทุกวันนี้ เมื่อยายเขามาแลวมัสยิดที่ยายมาก็ยัง
มาปลูกเปนเรือนไมเหมือนเดิม
เวลาผานพนไปจนถึง ฮ.ศ.1324 (ปพ.ศ.2447) ฮัจยียูซุบ (ตวนโส) จึงดําริที่จะสราง
มัสยิดใหมจากเรือนไมมาเปนอาคารโบกอิฐถือปูนเพื่ออุทิศแกผูบิดา เช็คฮารูณ ผูลวงลับไปแลวจึงสละ
ทรัพยสินสวนตัวโดยขายที่ดินขางสุสานฝรั่งสีลมไปสวนหนึ่ง เปนเงิน 180 ชั่ง นํามาสมทบในการ
กอสรางมัสยิดใหมดวย ผูสมทบสรางมัสยิดมีทั้งชาวหมูบานตนสําโรงชวยกันลงแรง และทรัพย ยังมีอีก
สวนหนึ่งจากแขกนอก คือพอคาวาณิชยชาวอินเดียหลายตระกูลที่เขามาใชมัสยิดนี้บางทานไดตั้งถิ่น
ฐานอยูในหมูบานจนจบชีวิต ณ ที่แหงนี้ทานเหลานั้นไดคอยเกื้อหนุนมัสยิดเสมอมา
ในสมัยนั้น มัสยิดที่สรางขึ้นใหมนั้นเปนที่กลาวขวัญถึงความกวางขวาง ศิลปกรรม
แกะสลักไมเปนตัวภาษาอาหรับอยูบนหนาตางประตูทุกบานมีตัวไมเขียนเปนภาษาอาหรับอัลกูรอานซู
เราะหอัลฟาติฮะห ติดไวโดยรอบเปนศิลปกรรมภาพสะทอนจากกําแพงดานซายจะเห็นตัวภาษา
อาหรับเขียนกลับดานไดบรรจงวิจิตรยิ่งนักมีเมียะหรอบทําดวยไมแกะสลัก และมิมบั๊รที่ถูกบรรจงแกะ
ดวยไม ใหสีเขียวสลับทองหาคามิได ตัวอาคารมองจากภายนอกเปนปูนฉาบสีชมพู มิใชสีทา (แตสมัย
หนึ่งทรุดโทรมมากจึงไดซอมแซม และทาสีขาวแทนอยางที่เห็นในปจจุบัน) ขอบหนาตางดานนอกและ
ชายคาวิจิตรดวยปูนปนซึ่งยังคงเหลือใหเห็นแตปจจุบันตัวอาคารก็ถูกดัดแปลงใหกวางขวางเพื่อรองรับ
ผูมาทําละหมาดไดมาก
ในสมัยนั้น มัสยิดหลังนี้ยังถูกเรียกชื่อวา“มัสยิดหลังโรงภาษี”หรือ“มัสยิดวัดมวงแค”
ตามภาษาชาวบาน เพราะมัสยิดนี้มาสรางใกลกับวัดมวงแคซึ่งมีอยูมากอน
เมื่อราวปพ.ศ.2490 รัฐบาลไดตรากฎหมายเพื่อรองรับมัสยิดอิสลาม เพื่อใหเปนนิติ
บุคคล และมีคณะกรรมการเขามารับผิดชอบจึงไดออกกฎหมายเรียกวา “พระราชบัญญัติมัสยิด
อิสลาม” และดําเนินการตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ ผูรวมดูแลมัสยิดสมัยนั้นจึงไดยื่นจดทะเบียนตาม
พระราชบัญญัติเปนมัสยิดที่2 ของประเทศไทย โดยตั้งชื่อเพื่อเปนเกียรติแกผูเปนบิดาของฮัจยียูซุบ
บาฟาเด็ล คือ เช็ค ฮารูณบาฟาเด็ล ตั้งแตวันนั้นมามัสยิดซึ่งมีประวัติความเปนมาอันยาวนานนี้จึง
ไดรับการตั้งชื่อ และจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติมัสยิดอิสลาม