Page 48 - Bang rak111
P. 48
41
ความพิเศษทางศิลปะของมัสยิดฮารูณอยูในลวดลายประดับหองละหมาด ซึ่งเปนสไตล
‘มูซันนา’ (Musanna) คือ Calligraphy ที่เขียนสะทอนสองดานอยางสมมาตรกัน เนื่องจากภาษา
อาหรับอานจากขวาไปซายดานที่อานตามปกติจึงอยูทางดานซาย โดยตัวอักษรใหญบนผนังที่ชิด
เพดานเลาชวงตนของ ‘ปฐมบท’ ในคัมภีรอัลกุรอาน สรางสรรคโดยชางฝมือชาวชวา
การสะทอนภาพคูขนานเปนสิ่งที่พบเห็นไดบอยในศิลปะอิสลาม เชน ทัชมาฮาลก็มีผืน
น้ําเบื้องหนาที่สะทอนเงาอาคารทั้งหลัง เปนการสื่อถึงโลกหลังความตายหรือโลกของวิญญาณซึ่งอยู
เคียงขางโลกของคนเปน
กลาวโดยสรุป ลักษณะเดนของมัสยิดฮารูณความพิเศษทางศิลปะของมัสยิดฮารูณ
อยูในลวดลายประดับหองละหมาด ซึ่งเปนสไตล ‘มูซันนา’ (Musanna) คือ Calligraphyที่เขียน
สะทอนสองดานอยางสมมาตรกัน เนื่องจากภาษาอาหรับอานจากขวาไปซายดานที่อานตามปกติจึงอยู
ทางดานซาย โดยตัวอักษรใหญบนผนังที่ชิดเพดานเลาชวงตนของ ‘ปฐมบท’ ในคัมภีรอัลกุรอาน
สรางสรรคโดยชางฝมือชาวชวา
เรื่องที่ 6 วัดพระศรีมหาอุมาเทวี
1. ประวัติความเปนมา
วัดพระศรีมหาอุมาเทวีชาวบานนิยมเรียกวา “วัดแขกสีลม” สรางเมื่อปพ.ศ. 2422 (ตาม
ปายบอกหนาวัดแขกสีลม) ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยชาวอินเดียกลุมหนึ่ง
ที่อาศัยอยูในกรุงรัตนโกสินทร เมื่อนายไวตีประเดียอะจิและญาติมิตรที่ตั้งบานเรือนอยูบนถนนสีลมมี
ศรัทธาจัดสรางวัดเพื่อเปนเทวสถานเจาแมศรีมหาอุเทวี เปนรูปศาลาขนาดเล็กใชชื่อวา “ศาลาศรี
อัมมัน” ตามลัทธิศักติทางศาสนาฮินดูคณะกรรมการอาทิ นายไวตรีประเดียอะจิ นายนารายเจติ นาย
โกบาระตี ไดขอแลกที่ดินของพวกตนกับสวนผักของนางปน อุปการโกบาระตี ไดขอแลกที่ดินของพวก
ตนกับสวนผักของนางปน อุปการโกษากร ภายในวัดมีเทพเจาทางศาสนาฮินดูอยูหลายองค สรางเปน
ที่เคารพของผูคนทั่วไป ที่นี้อยูภายใตการปกครองของกลุมชาวอินเดีย “ทมิฬ” ซึ่งเปนผูนําวัฒนธรรม
ออกไปเผยแพรทั่วเอเชีย