Page 47 - Bang rak111
P. 47

40




                                  ทั้งนี้จะเห็นไดวา ชาวฮารูณมีสื่อสัมพันธ กับแขกนอก (ชาวอินเดีย มุสลิม) ตั้งแตดั้งเดิม
                       อาจจะตั้งแตยุดที่อยูในหมูบานตนสําโรง แมแตผูเขามาดูแลรักษามัสยิดตนสําโรง เชน เช็คมูซา บาฟา
                       เด็ล และเช็คฮารูณบาฟาเด็ลผูเปนบุตรก็เปนชาวอินโดนีเซียเชื้อสายอาหรับเปอรเซียดังนั้นมัสยิดฮา
                       รูณจึงเปนสื่อสัมพันธระหวางมุสลิมไทย กับมุสลิมตางชาติตลอดมาจนถึงปจจุบันอยูรวมกันคบคา

                       สมาคมกันฉันทพี่นองตั้งแตอดีตกาลตลอดจนถึงปจจุบันกวา 100 ป
                                  เมื่อฮัจยียูซุบ (ตวนโส) ผูทําหนาที่อีหมาม และดูแลมัสยิดเรื่อยมามีอายุมากแลวตองการ
                       ความสงบ และพักผอนบางจึงมอบหมายใหฮัจยีมัสอูดอัลอุมารี ผูมีความรูดานศาสนาและเปนครูสอน
                       ศาสนาใหแกชาวฮารูณยุคตนๆ มากมายเปนที่เคารพนับถือในฐานะ “ครู” หรือ “หยอ” (หมายถึง

                       บิดา) เปนอิหมามตอจากฮัจยียูซุบ (ตวนโส) ตอไปนับวาเปนอิหมามทานที่ 2 ของมัสยิดฮารูณ
                                 ครั้นเมื่อป ฮ.ศ.1337 (ป พ.ศ.2460) เปนปที่ชาวฮารูณ (ชาวหมูบานตนสําโรง) ตอง
                       ไดรับความเสียใจอยางที่สุด เพราะ ฮัจยียูซุบ บาฟาเด็ล (โสหะรุณ หรือ ตวนโส) ซึ่งเปนผูที่ชาวฮารูณ
                       รักและเคารพดั่งบิดาไดถึงแกกรรมถึงอายั้ลของอัลลอห

                                  กลาวโดยสรุปมัสยิดฮารูณ เปนมัสยิดที่ 2  ของประเทศไทยและเปนสถานที่ประกอบ
                       ศาสนกิจของชาวมุสลิมสรางมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่3 โดยชาวประเทศอินโดนีเซีย
                               2. แผนที่และการเดินทาง
















                                  การเดินทางโดย รถโดยสารประจําทาง สาย 1 16 36 45 75และ 93
                                  รถโดยสารประจําทางปรับอากาศ ปอ. 16 36 45 75 93 และ187
                                  การเดินทางดวยเรือ ทาเรือวัดมวงแค
                                  กลาวโดยสรุปการเดินทางโดย รถโดยสรประจําทาง สาย 1 16 36 45 75 และ 93 รถ

                       โดยสารประจําทางปรับอากาศ ปอ. 16 36 45 75 93 และ187 การเดินทางโดยเรือ ทาเรือวัดมวงแค
                       การเดินทางมามัสยิดฮารูณสามารถเดินทางโดยเรือโดยสารและรถโดยสารประจําทางได


                               3. ลักษณะเดนของมัสยิด
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52