Page 9 - เทคนิค 2 ใช้ข้อมูลการประเมินตนเองจากนักเรียน
P. 9
จะพัฒนา focus question ส าหรับ student report อย่างไร
Focus question ใน ตัวอย่ำงที่ 8 เป็นเพียงตัวอย่ำง ครูอำจก ำหนดจุดสนใจไป
เพียงส่วนหนึ่งของกระบวนกำรแก้ปัญหำและถำมค ำถำมเฉพำะจุดนั้น ขั้นแรกก ำหนด
ว่ำส่วนไหนของกำรแก้ปัญหำที่ครูอยำกให้นักเรียนบันทึกรำยงำน จำกนั้นสร้ำงเป็น
ค ำถำมที่กระตุ้นกำรย้อนคิดไปถึงกำรแก้ปัญหำในจุดนั้น
Inventories
คือ รำยกำรหัวข้อที่นักเรียนเช็คเพื่อสะท้อนผลทักษะกำรแก้ปัญหำและทัศนคติ
ของตนเอง inventory ของทัศนคติอำจะเป็นข้อควำม checklist ใช่ – ไม่ใช่ ง่ำย ๆ เช่น
ใน ตัวอย่ำงที่ 9 ที่พัฒนำเพื่อโครงกำรกำรแก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ที่มหำวิทยำลัย
อินเดียน่ำ หรืออำจะเป็น scale ที่วัดได้หลำยระดับ
ในตัวอย่ำงที่ 9 ได้แบ่งประเภทไว้ 3 แบบ คือ 1. ควำมอยำกแก้ปัญหำ 2. ควำม
อดทนระหว่ำงแก้ปัญหำ 3. ควำมมั่นใจในตนเองระหว่ำงกำรแก้ปัญหำ
Inventor ของทัศนคติสำมำรถเขียนให้ละเอียดได้มำกขึ้นอย่ำงตัวอย่ำงที่ 9 ที่มี
ควำมเที่ยงตรงและน่ำเชื่อถือ หรือเป็นแบบง่ำย ๆ ที่เน้นให้เด็กวัยเล็ก inventiories
ดังกล่ำวยังถูกใช้เพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับทัศนคติของเด็กๆ ต่อปัญหำต่ำงๆ ด้วย
Inventories หรือรำยกำร checklist ส ำหรับให้นักเรียนประเมินตัวเองในเรื่อง
ศักยภำพกำรแก้ปัญหำ จะท ำให้เรียบง่ำยหรือละเอียดเลยก็ได้ เช่น inventory ใน
ตัวอย่ำงที่ 11 อำจถูกสร้ำงโดยครูเพื่อช่วยเก็บข้อมูลเกี่ยวกับกำรตัดสินใจเลือกยุทธวิธี
แก้ไขปัญหำของเด็กอีกด้วย