Page 150 - รวมเล่ม เนื้อหา 6 ด้าน
P. 150

๑๕๒

                       โดยนำจุดแข็งเรื่องมาตรฐานสากลของวิชาชีพการตรวจสอบภายในที่กำหนดให้ผู้ตรวจสอบภายในต้อง
               คำนึงถึงความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการตรวจสอบภารกิจต่าง ๆ

               ของหน่วยรับตรวจ มาใช้ในการพัฒนาระบบการตรวจสอบภายในแบบมีส่วนร่วมจากภาคประชาชน ดังนั้น จึงขอ
               เสนอกลยุทธ์ “การยกระดับบริการของกรุงเทพมหานครผ่านการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน” โดยมีโครงการ
               “การสร้างระบบการตรวจสอบแบบมีส่วนร่วมจากภาคประชาชน (We Hear You)” ที่จะสนับสนุนกลยุทธ์ดังกล่าว
               ให้บรรลุผลสำเร็จ


               (6) เป้าหมาย
                       เพื่อสร้างระบบการตรวจสอบแบบมีส่วนร่วม เพื่อเป็นช่องทางในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนมาใช้
               ประกอบการวางแผนการตรวจสอบของสำนักงานตรวจสอบภายใน ซึ่งจะเป็นเครื่องมือสำคัญในการเสริมสร้างความ

               เข้มแข็งให้กับระบบการตรวจสอบ กระตุ้นให้หน่วยงานกรุงเทพมหานครที่ได้รับการตรวจสอบพฒนาและปรับปรุงงาน
                                                                                           ั
               อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ทดีและความโปร่งใสให้กรุงเทพมหานคร
                                                      ี่

               (7) ผลผลิต

                                                       ื่
                       1) กรุงเทพมหานครมีระบบสารสนเทศเพอเป็นช่องทางให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตรวจสอบภายใน
                                                                                                   ื่
                       ๒) กรุงเทพมหานครมีรูปแบบและแผนการตรวจสอบภายในแบบมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนเพอดำเนินการ


               (8) ตัวชี้วัด
                                                         ื่
                       1) กรุงเทพมหานครมีระบบสารสนเทศเพอเป็นช่องทางให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตรวจสอบภายใน
               ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
                       2) กรุงเทพมหานครมีรูปแบบและแผนการตรวจสอบภายในแบบมีส่วนร่วมจากภาคประชาชน
               เพื่อดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

                       3) จำนวนหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครผู้รับตรวจสามารถปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนางานตาม
               ข้อเสนอแนะของสำนักงานตรวจสอบภายในไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155