Page 145 - รวมเล่ม เนื้อหา 6 ด้าน
P. 145
๑๔๗
(4) ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร (SWOT Analysis) (ต่อ)
โอกาส อุปสรรค
O.๑ กรุงเทพมหานครกำหนดยุทธศาสตร์และแผน T.๑ ในช่วงระยะ ๑ – ๒ ปีที่ผ่านมา
ประจำปี โดยมีกิจกรรมหรือโครงการรองรับที่มีความ กรุงเทพมหานครได้มีการปรับปรุงโครงสร้างของ
หลากหลายและมีแนวโน้มเพมขึ้นอย่างต่อเนื่อง หน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดจำนวนหลายแห่ง การ
ิ่
ซึ่งหมายความว่า แนวโน้มของงานตรวจสอบจะ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวทำให้ผู้ตรวจสอบภายในต้อง
มุ่งเน้นไปในเรื่องของการตรวจสอบการดำเนินงาน ปรับเปลี่ยนข้อมูลเพื่อที่จะใช้ในการวางแผนการ
(Performance Audit) ด้านต่าง ๆ มากขึ้น ตรวจสอบ ซึ่งอาจจะทำให้ต้องใช้ระยะเวลา
O.๒ ผู้บริหารกรุงเทพมหานครต้องการให้สำนักงาน ในการศึกษาหรือวิเคราะห์ความเสี่ยงเพื่อเลือก
ตรวจสอบภายในเข้าตรวจสอบหน่วยงานต่าง ๆ ใน หน่วยงานหรือโครงการที่จะเข้าตรวจสอบมากขึ้น
สังกัดกรุงเทพมหานครได้อย่างครบถ้วนและ T.๒ หน่วยรับตรวจมีทัศนคติที่เป็นลบกับผู้ตรวจ
ครอบคลุมหน่วยงานทุกแห่งภายในระยะเวลา ๑ – ๒ สอบภายใน เนื่องจากมีประสบการณ์ทไม่ดีกับ
ี่
ปัจจัยภายนอก ปี โดยพร้อมที่จะให้การสนับสนุนด้านทรัพยากร ผู้ตรวจสอบภายใน และไม่เข้าใจบทบาทของ
O.3 ยุทธศาสตร์ชาติและรัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับ ผู้ตรวจสอบภายในที่นอกจากจะตรวจสอบการ-
การดำเนินงานที่โปร่งใส สุจริต และป้องกันการทุจริต ดำเนินงานของหน่วยงานแล้ว ยังสามารถให้
ที่อาจจะเกิดขึ้นกับหน่วยงานภาครัฐมากขึ้น ทำให้ คำปรึกษาแก่หน่วยงานด้วย
บทบาทของหน่วยงานตรวจสอบภายในมีความสำคัญ T.๓ กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ (Stakeholders)
มากขึ้นในองค์กร ยังไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการ
O.4 สถาบันผู้ตรวจสอบภายในสากล (The ตรวจสอบ
Institute of Internal Auditors: The IIA) T.๔ มีนโยบายจำนวนหลายด้านและต้องเร่ง
ได้พัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานของวิชาชีพฯ ดำเนินการให้เกิดผลสำเร็จโดยเร็ว อาจทำให้เกิด
อย่างต่อเนื่อง ทำให้สำนักงานตรวจสอบภายใน การปฏิบัติงานที่ผิดพลาด
ต้องพัฒนาและปรับปรุงการดำเนินงานของตนเอง
อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อให้ได้รับการยอมรับ
ในแวดวงวิชาชีพ
(5) การวิเคราะห์ TOWS Matrix
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) ระบุอุปสรรคไว้ประเด็นหนึ่งว่า “กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียต่าง ๆ (Stakeholders) ไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการตรวจสอบ” ด้วยเหตุดังกล่าว สำนักงาน
ตรวจสอบภายในจึงกำหนดให้มีมาตรการและตัวชี้วัดที่จะลดอุปสรรคดังกล่าว คือ “ร้อยละความสำเร็จของการนำ
ข้อเสนอแนะจากระบบสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ของหน่วยรับตรวจ และหรือประชาชนผู้มีส่วน
ได้ส่วนเสียต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำมาดำเนินการ” (เป้าหมาย คือ ร้อยละ ๘๐) แต่เมื่อสอบทานลงไปถึง
รายละเอียดกิจกรรมสนับสนุนตัวชี้วัด คือ กิจกรรมการรับฟังข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กลุ่มต่าง ๆ และนำมาพัฒนาหรือปรับปรุงงานตรวจสอบภายใน พบว่า เป็นการสำรวจความคิดเห็นของหน่วยรับ