Page 144 - รวมเล่ม เนื้อหา 6 ด้าน
P. 144

๑๔๖

               (4) ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร (SWOT Analysis)


                                            จุดแข็ง                                      จุดอ่อน
                         S.1 ผู้ตรวจสอบภายในได้เข้ารับการฝึกอบรม       W.๑ ผู้ตรวจสอบภายในโดยส่วนใหญ่ (มากกว่า
                         สัมมนา และศึกษาดูงานในหลักสูตรหรือหัวข้อต่าง ๆ  ร้อยละ ๕๐) มีวุฒิการศึกษาทางด้านบัญชี การเงิน
                         ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพอย่างต่อเนื่องทุกปี จึงทำให้มี  และการบริหารธุรกิจ จึงมีความชำนาญหรือ

                         ความรู้ ความชำนาญและเชี่ยวชาญในหลากหลาย       เชี่ยวชาญเฉพาะด้านดังกล่าว ในขณะที่ การ
                         สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง เช่น การตรวจสอบภายใน การ  ดำเนินงานของกรุงเทพมหานครและหน่วยรับตรวจ
                         บริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน การบัญชี      มีภารกิจด้านอื่น ๆ ที่หลากหลาย เช่น ด้าน

                         การเงิน การคลังและงบประมาณ กฎหมายและ          การแพทย์ ด้านการโยธา ด้านการบริหารการศกษา
                                                                                                             ึ
                         ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานด้านต่าง ๆ ของ ฯลฯ ทำให้ผู้ตรวจสอบภายในไม่สามารถตรวจสอบ
                         กรุงเทพมหานคร ฯลฯ                             งานประเภทอื่น ๆ ดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิผล
                         S.2 สำนักงานตรวจสอบภายในได้จัดกิจกรรม         เท่าที่ควร

                         แลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือแบ่งปันองค์ความรู้      W.๒  เมื่อผู้ตรวจสอบภายในจะตรวจสอบงานหรือ
                         (Knowledge Management) ระหว่างผู้ตรวจสอบ      โครงการที่ตนเองไม่มความรู้ความชำนาญ เช่น งาน
                                                                                        ี
                                                         ื่
                         ภายในอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี เพอให้มีความรู้  ด้านการแพทย์ งานด้านการโยธา (ก่อสร้าง) งาน
                   ปัจจัยภายใน   S.3 สำนักงานตรวจสอบภายในมีเป้าหมายชัดเจนที่  ผู้เชี่ยวชาญด้านดังกล่าวมาร่วมปฏิบัติงานตรวจสอบ
                                                                       ด้านการบริหารการศึกษา ฯลฯ อาจจะต้องเชิญ
                         ความชำนาญและเชี่ยวชาญในงานที่ตรวจสอบ

                         จะพัฒนาการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้า ไม่คล่องตัว
                         ของวิชาชีพ เพื่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่น่าเชื่อถือและ  W.๓  จำนวนของผู้ตรวจสอบภายในมีเพียง ๕๐
                         ได้รับการยอมรับจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง  อัตราเท่านั้น ในขณะที่มีหน่วยรับตรวจจำนวน

                         S.4 สำนักงานตรวจสอบภายในจัดโครงสร้างองค์กร  มากกว่า ๗๐๐ แห่ง จึงทำให้ไม่สามารถตรวจสอบ
                         ด้วยการแบ่งกลุ่มงานตรวจสอบตามกลุ่มภารกิจของ   หน่วยงานดังกล่าวได้อย่างครอบคลุมทุกแห่งภายใน
                         หน่วยรับตรวจ จึงทำให้เกิดความเชี่ยวชาญเฉพาะ   ระยะเวลา ๑ ปี

                         ด้านในการปฏิบัติงานตรวจสอบ และมีกลุ่มงานที่   W.4  สำนักงานตรวจสอบภายในยังไม่สามารถ
                         ทำหน้าที่ในการพัฒนางานตรวจสอบภายในเป็นการ     ปฏิบัติตามมาตรฐานสากลของวิชาชีพฯ ได้ในระดับ
                         เฉพาะ                                         ที่ผู้ประเมินจากหน่วยงานภายนอกจะให้ “ผ่าน”
                                                                       หรือ “ปฏิบัติตามมาตรฐาน” (Conformance)
                                                                       โดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรฐานด้านคุณสมบัติที่ยังไม่มี

                                                                       ความเป็นอิสระและมาตรฐานด้านการปฏิบัติงานใน
                                                                       บางเรื่อง
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149