Page 155 - รวมเล่ม เนื้อหา 6 ด้าน
P. 155
๑๕๗
รวม
ที่ ประเด็นที่สำรวจ ผลการสำรวจ (คน)
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
4. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบการดำเนินงาน 74 1 75
ต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครจะส่งเสริมความโปร่งใสในการ (ร้อยละ 98.7) (ร้อยละ 1.3)
ดำเนินการ
จากประเด็นการสำรวจข้างต้น พบว่า ข้าราชการและผู้ที่เกี่ยวข้องส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าประชาชน
ควรมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ การมีส่วนร่วมในการดำเนินงานและการตรวจสอบ
สำหรับการเลือกใช้ช่องทางการมีส่วนร่วม สำหรับประเด็นเกี่ยวกับความกังวลใจ ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ ๖๔
ี
ไม่มความกังวลใจที่ประชาชนจะเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการทำงาน
ผู้ตอบแบบสอบถามคิดเห็นว่า การที่ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบมีข้อดี ดังต่อไปนี้
ตามลำดับ (๑) เกิดความโปร่งใสในการทำงาน (๒) ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้มากขึ้น และ (๓)
ประชาชนได้รับบริการที่มีคณภาพมากขึ้น
ุ
โดยสรุป คือ ตัวแทนข้าราชการและบุคลากรในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการในพื้นที่
กรุงเทพมหานครส่วนใหญ่เห็นด้วยที่จะเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการดำเนินของ
กรุงเทพมหานคร โดยส่วนใหญ่ไม่มีความกังวลใจ รวมทั้งมีความคิดเห็นว่าข้อดีของการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ
จากประชาชน คือ เกิดความโปร่งใสในการทำงาน ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้มากขึ้นและประชาชน
ึ้
ได้รับบริการที่ดีขน
๒.3 สอบทานสถิติเรื่องร้องเรียนช่องทาง ๑๕๕๕
กลุ่มที่ ๕ ได้สอบทานสถิติเรื่องร้องเรียนที่ผ่านช่องทาง ๑๕๕๕ เพื่อใช้ประกอบการพัฒนาระบบ
การตรวจสอบแบบมีส่วนร่วม โดยป้องกันความซ้ำซ้อนของขอบเขตการดำเนินการและพจารณาถึงความเหมาะสม
ิ
และความเป็นไปได้ในการประชาสัมพันธ์ระบบการตรวจสอบแบบมีส่วนร่วมผ่านช่องทาง ๑๕๕๕ รวมทั้งนำไปใช้
เป็นข้อมูลพื้นฐานในการประชาสัมพันธ์ Brand “We Hear You” ให้เหมาะสมต่อไป
จากการสอบทานสถิติเรื่องร้องเรียนช่องทาง ๑๕๕๕ ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒
ข้อมูลสรุปได้ ดังนี้
๒.3.๑ จำนวนเรื่องร้องเรียน
ตาราง 5.3 ข้อมูลสถิติการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560-2562
ปี จำนวนเรื่อง ดำเนินการแล้วเสร็จ อยู่ระหว่างดำเนินการ
2560 75,117 73,421 1,696
2561 81,183 79,361 1,822
2562 77,330 74,050 3,280