Page 157 - รวมเล่ม เนื้อหา 6 ด้าน
P. 157

๑๕๙

               รับผิดชอบของหน่วยงานตรวจสอบ ซึ่งประชาชนอาจจะมีส่วนร่วมทางอ้อม กรณีที่หน่วยงานตรวจสอบต้องการที่

                       ี่
               ปรึกษาทมีความเชี่ยวชาญในเรื่องที่ตรวจสอบ

                                                      ่
                              บทความดังกล่าวได้สรุปคุณคาและประโยชน์ของการตรวจสอบแบบมีส่วนร่วมไว้ ดังนี้
                              1. กระตุ้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและพัฒนาประชาธิปไตย

                              2. ตอบสนองความต้องการของประชาชนและช่วยแก้ไขปัญหาหรือประเด็นความเดือดร้อน
                        ้
               ความขับของใจของประชาชน
                              3. ปรับปรุงการบริหารงานของภาครัฐ
                              อย่างไรก็ตาม ได้ระบุประเด็นความเสี่ยงเกี่ยวกับการตรวจสอบแบบมีส่วนร่วมไว้ ดังนี้

                              1. คำร้องขอบางประเด็น อาจจะเป็นผลประโยชน์ส่วนบุคคล สำหรับวิธีการจัดการคือ สื่อสาร
               และทำความเข้าใจกับประชาชนเกี่ยวกับนิยามของ “ผลประโยชน์สาธารณะ” และจัดให้มีเครื่องมือและ
               คณะกรรมการทำหน้าที่วิเคราะห์และคัดเลือกคำร้องขอที่จะนำมาตรวจสอบ

                              2. อาจจะมีประเด็นทางการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้องกับการแสดงความคิดเห็นของประชาชน
               สำหรับวิธีการจัดการ คือ เปิดโอกาสให้กลุ่มทางการเมืองได้แสดงความคิดเห็นให้รอบด้าน เพื่อนำข้อมูลทั้งหมด

               มาใช้ประกอบการวิเคราะห์
                              3. การใช้ทรัพยากรการตรวจสอบอย่างไม่มีประสิทธิภาพ วิธีการจัดการ คือ จัดลำดับ

               ความสำคัญของเรื่องที่ได้รับการร้องขอ ให้เหมาะสมกับทรัพยากรที่มีอยู่
                              2.4.1 การตรวจสอบแบบมีส่วนร่วมในประเทศฟิลิปปินส์

                              (https://documents.worldbank.org/en/publication/documents-
               reports/documentdetail/995101557837621617/citizen-participatory-audit-in-the-philippines-
               pilot-phase-i-2012-2014)

                              บทความเรื่อง Citizen Participatory Audit in the Philippines-Pilot Phase I (2012 -
               2014) อธิบายว่าหน่วยงานตรวจสอบของประเทศฟิลิปปินส์ที่ชื่อว่า “The Commission on Audit (CAO)”

               และ The Supreme Audit Institution (SAI) เป็นผู้ดำเนินการการตรวจสอบแบบมีส่วนร่วม โดยสร้าง
               ยุทธศาสตร์ให้ประชาชนใช้สิทธิของตน เพื่อตรวจสอบการทำงานของภาครัฐและเพอให้มั่นใจว่าการใช้งบประมาณ
                                                                                   ื่
               เป็นไปอย่างเหมาะสม โดยพัฒนาบนพื้นฐานแนวคิดที่ว่า การมีส่วนร่วมของพลเมืองและความรับผิดชอบสาธารณะ

               จะช่วยเสริมสร้างความโปร่งใสและประสิทธิผลของการดำเนินการภาครัฐ โดยใช้วิธีการตรวจสอบร่วมกับประชาชน
               ในฐานะสมาชิกของทีมตรวจสอบ COA ผ่านกลไกการเป็นหุ้นส่วนกับภาคประชาชน เพื่อกำหนดเป้าหมายร่วมกัน

               ในการตรวจสอบ รวมเน้นให้ภาคประชาสังคมมีบทบาทในการตรวจสอบพื้นที่ของตนเอง โดยทำงานเป็นหุ้นส่วน
               กับ COA

                              COA เริ่มต้นดำเนินการตรวจสอบแบบมีส่วนร่วมในเดือนพฤศจิกายน 2555 ภายในสมมติฐาน
                                                                                ้
               ที่ว่าความรับผิดชอบต่อสาธารณะจะเกิดขึ้นได้ เมื่อพลเมืองมีความตื่นตัวและมีขอมูลประกอบการตัดสินใจ
               โดยกำหนดเป้าหมายในการดำเนินการหลักไว้ดังนี้
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162