Page 158 - รวมเล่ม เนื้อหา 6 ด้าน
P. 158
๑๖๐
1. เสริมสร้างความรู้ให้กับพลเมืองเกี่ยวกับการตรวจสอบของรัฐบาลผ่านประสบการณ์จริงและ
ปฏิบัติจริง
2. พลเมืองสามารถแสดงความรับผิดชอบต่อสาธารณะได้อย่างเหมาะสม
3. หน่วยงานภาครัฐมีความรับผิดชอบและโปร่งใสมากขึ้น
ื
COA จัดทำคู่มอ “Operational Guideline for the Citizen Participatory Audit Project”
เพื่อให้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารกับภาคประชาขนและหน่วยงานตรวจสอบที่เกี่ยวข้อง ซึ่งคู่มือดังกล่าวอธิบาย
การจัดการและการดำเนินการตรวจสอบแบบมีส่วนร่วม ระบุอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่กลุ่ม
ื่
อย่างชัดเจน เพอลดความสับสนหรือความขัดแย้งในการดำเนินการตรวจสอบแบบมีส่วนร่วม
- กระบวนการตรวจสอบแบบมีส่วนร่วม
1. ระบุประเด็นในการตรวจสอบ
2. กำหนดลักษณะการปฏิบัติงานและขอบเขตการมีส่วนร่วนของภาคประชาชน
3. กำหนดตัวหุ้นส่วนการตรวจสอบ เพื่อทำหน้าที่ citizen auditor
4. จัดทำกำหนดการตรวจสอบร่วมกัน
5. ประเมินศักยภาพในการตรวจสอบของ citizen auditor
6. จัดทำแผนการตรวจสอบ
7. ปฏิบัติงานตามแผนการตรวจสอบที่กำหนดไว้
8. รวบรวมข้อเท็จจริงและหลักฐานการตรวจสอบ เพื่อจัดทำรายงานผลการตรวจสอบ
และเผยแพร่ผลการตรวจสอบ
๙. ประเมินผลการปฏิบัติงานของทีมตรวจสอบ
้
10. ติดตามผลการตรวจสอบตามขอ 8 ว่าหน่วยงานที่ได้รับข้อเสนอแนะให้ปรับปรุง
แก้ไข สามารถปรับปรุง แก้ไขหรือพัฒนางานได้หรือไม่ อย่างไร
- หลักเกณฑ์สำคัญในการคัดเลือกโครงการหรืองานสำหรับการตรวจสอบ
ั
หลักเกณฑ์สำคัญในการคดเลือก คือ ต้องเป็นงานหรือโครงการที่มมูลค่าสูงและ
ี
ผลกระทบในระดับสูงต่อประชาชน ดังนี้
1. ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันของประชาชนส่วนใหญ่
2. ใช้งบประมาณจำนวนมากในการดำเนินการและง่ายต่อการคอร์รัปชั่น
3. ส่งผลกระทบเชิงภูมิศาสตร์หรือประชากรศาสตร์
4. กิจกรรมหรือโครงการที่มีความเสี่ยงต่อความปลอดภัยในชีวิตหรือทรัพย์สินของประชาชน
่
5. อาจจะกอให้เกิดความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประชาชนได้
6. กิจกรรมหรือโครงการที่ประชาชนคาดหวังว่าจะยกระดับการดำเนินชีวิต
- ขอบเขตการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการตรวจสอบ
ประชาชนจะเข้ามามีส่วนร่วมในฐานะ “Citizen Auditor” โดยกำหนดขอบเขตในการ