Page 82 - HistoryofNakornratchasima
P. 82

เครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียน

                ด่านเกวียน เป็นแหล่งผลิตภาชนะดินเผาที่มีชื่อเสียงในจังหวัดนครราชสีมา
            การผลิตเครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียนเริ่มต้นขึ้นแต่เมื่อใด ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด
            แต่จากเรื่องเล่าสืบกันมาระบุว่า เครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียน เริ่มขึ้นโดยชาวข่า
            (ชาติพันธุ์ข่า) ที่เดินทางมาพักอาศัยอยู่ ณ บริเวณบ้านด่านเกวียนในปัจจุบัน ต่อมากลุ่ม
            ชาวข่าได้น�าดินเหนียวบริเวณที่พักมาผลิตภาชนะดินเผานี้ขึ้นใช้ (ฉัตราภรณ์ จินดาเดช,
            ๒๕๕๘ : ๑๗๒)
                เดิมเครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียนมักผลิตขึ้นเฉพาะภาชนะใช้สอยตามอย่างพื้นบ้าน
            เช่น โอ่งน�้า ไหปลาร้า ครกส้มต�า ต�าหมาก คนโท เป็นต้น โดยมักบรรจุใส่เกวียนไปขาย
            ยังบริเวณอ�าเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดสุรินทร์ในปัจจุบัน โดยอาจเป็นการขาย
            หรือแลกเปลี่ยนกับสินค้าอื่น ๆ เช่น ของป่า ข้าวเปลือก เป็นต้น (วิโรจน์ ศรีสุโร, ๒๕๒๑ :
            ๔๘-๔๙)
                ลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของเครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียน เพราะเป็นเครื่องปั้นดินเผา
            ที่มีคุณภาพสูง อันเกิดจากดินเหนียวที่มีคุณสมบัติดีเป็นพิเศษ ซึ่ึ่งพบในบริเวณบ้าน
            ด่านเกวียนเพียงแห่งเดียวเท่านั้น
































        เครื่องปั ้ นดินเผาด่านเกวียน
        ตั้งอยู่ที่ บ้านด่านเกวียน ต�าบลโชคชัย อ�าเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา


        80 รู้เรื่องเมืองโคราช ท่องประวัติศาสตร์และอารยธรรมขอม
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87