Page 34 - การถอดบทเรียนการทำงานA4
P. 34

ให้รายละเอียดเชิงลึกของผลลัพธ์การเรียนรู้ได้มากกว่า แต่ยังถูกโต้แย้งเรื่องไม่สามารถนำเสนอผล
               การประเมินการเรียนรู้ของโครงการพัฒนาศักยภาพในภาพรวมได้  หรือ รูปแบบการประเมินผล

                             ์
               กระทบต่อองคกรของ Anderson (Anderson’s Value of Learning  Model) ที่เน้นผลประโยชน์
               ที่เกิดขึ้นกับหน่วยงานหรือองค์กรเป็นหลัก เป็นต้น ด้วยเหตุนี้เพื่อให้ผลการประเมินที่นำไปสู่การ
                             ั
                                                                                                     ั
                  ั
                      ุ
                                   ุ
                                                                    ิ
                                                                        ู
                                                                 ้
                                                  ั
                                                         ั
               ปรบปรงและพฒนาคณภาพโครงการพฒนาศกยภาพไดจรง รปแบบการประเมินผลโครงการพฒนา
               ศักยภาพระยะๆหลัง จึงมีลักษณะของการผสมผสานระหว่างรูปแบบการประเมินผลเชิงปริมาณและ
               วิธีการประเมินที่ให้ความสำคัญข้อมูลเชิงคุณภาพ ตัวอย่างเช่น รูปแบบการประเมินผลการเรียนร     ู ้
               ขององค์กร Watershed (Watershed’s Seven Steps of Evaluation) ที่พัฒนาขั้นตอนการ
                                          ้
               ประเมินโดยการประยุกต์ใชจุดแข็งจากรูปแบบการประเมินของ Kirkpatrick, Kaufman  และ
               Anderson เข้ากับวิธีการประเมินจากกรณีศึกษาที่ประสบความสำเร็จของ Brinkerhoff (Downs,
               2019: 16-26) เพื่อช่วยให้ได้ผลการประเมินที่รอบด้านยิ่งขึ้น

                                                                         ั
                                      ั
                                                                                          ้
                                         ู
               กรอบการประเมินหลกสตรการถอดบทเรียนและการสงเคราะห์ความรู
                                                                                           ู
                                                                                           ้
                       สำหรับการประเมินผลหลักสูตรการถอดบทเรียนและการสังเคราะห์ความรครั้งนี้ นักสร้าง
               เสริมสุขภาวะสามารถประยุกต์แนวคิดการประเมินของ Kirkpatrick, Kaufman  และ Anderson
               โดยเน้นผลลัพธ์จากการอบรมระดับปัจเจกบุคคล (ผู้เข้าอบรม) เป็นสำคัญโดยพิจารณาการ
               เปลี่ยนแปลงของผูเข้าอบรมใน 3 ระดับได้แก่ ความพึงพอใจ ความรู้ความเข้าใจและการ
                                  ้
               เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมภายในหลังการอบรม ขณะเดียวกันยังพิจารณาถึงทุนเดิมของผู้เข้าอบรม

               (Level 0) โดยกำหนดให้มีการประเมินผลก่อนการอบรม (pre-test) ด้วยเช่นกันทำให้ไดการ
                                                                                                      ้
               ประเมินผลการเรยนรอยางเป็นระบบดวยวิธการวัดเชงปรมาณ นอกจากนันยงผสมผสานกับวธการ
                                                                ิ
                                   ้
                                      ่
                                                   ้
                                   ู
                                                       ี
                                                                    ิ
                                                                                                      ี
                                                                                   ้
                                                                                      ั
                                                                                                     ิ
                               ี
               วัดเชิงคุณภาพเพื่อให้รายละเอียดเชงลึก อธิบายผลการเรียนรู้ได้อย่างครอบคลุมรอบดานยิ่งขึ้น
                                                                                             ้
                                               ิ
                       จากหลักคิดข้างต้นทำให้สามารถกำหนดเป็น(ร่าง) กรอบการประเมินผลหลักสูตรการถอด
                    ี
               บทเรยนการทำงานได้ดังแผนภาพที่ 2













                               ่
                                                                ั
               แผนภาพที 2 (ราง) กรอบการประเมินการอบรบหลกสตรการถอดบทเรยนการทำงาน
                         ่
                                                                                  ี
                                                                  ู
                                                                                    ั
                                                                            ่
                           คู่มือการถอดบทเรียนการทำงาน (Lessons Distilled) โดยประภาพรรณ อุนอบและณภทร ประภาสุชาติ
                                                                                                       29
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39