Page 33 - การถอดบทเรียนการทำงานA4
P. 33

ส่วนที่ 3


               การประเมินผลการอบรม

               1.3

               แนวคิดการประเมินผลการอบรม

               1.3.1  ในการประเมินผลการอบรมหรือผลของโครงการพัฒนาศักยภาพนั้น ส่วนใหญ่นิยมใช                ้
                                            ั
                 ู
               รปแบบการประเมินผล 4 ระดบของ Kirkpatrick (Kirkpatrick’s four levels of evaluation)  ที      ่
               อาจนับได้ว่าเป็นตัวแบบหลักแรกๆของการประเมินผลการเรียนรู้อย่างเป็นระบบที่นิยมใช้ประเมิน
               ผลลัพธ์จากการจัดอบรมมาตั้งแต่ปีค.ศ. 1985 รวมทั้งยังได้ทบทวนและปรับปรุงรูปแบบการ
               ประเมินดังกล่าวครั้งล่าสุดในปีค.ศ. 2006 (Scriven, 2011: 1-2) โดย Kirkpatrick กำหนดให้มี

               การประเมินใน 2 ระดับด้วยกันคือ ระดับปัจเจกบุคคล ด้วยการประเมินความพึงพอใจต่อการ
                                                                     ้
               กิจกรรมการพฒนาศักยภาพ(Level 1: Reaction) ความรความเข้าใจและทักษะทีเพิ่มขึ้น(Level 2:
                                                                                          ่
                                                                     ู
                             ั
               Learning) รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจากกิจกรรมการพัฒนาฯ (Level 3:
               Behavior) ขณะที่การประเมินผลกระทบต่อองค์กรนั้น จะพิจารณาถึงความสามารถประยุกต์ใช            ้
               ความรู้เพื่อเพิ่มผลผลิตขององค์กรเป็นหลัก(Level 4: Results) อย่างไรก็ดีจะพบว่าวิธีการวัดผล
               กระทบต่อองค์กรดังกล่าวนั้น ยังมีข้อจำกัดสำคัญด้านความน่าเชื่อถือของผลการประเมิน เนื่องจาก

               ไม่สามารถจำแนกความรู้และประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ก่อนเขารับการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรได       ้
                                                                     ้
                                        ี
               ตามที่ Downs (2019) เรยกว่า Level 0
                                                                                         ู
                       ต่อมา Kaufman  ได้พยายามลดข้อจำกัดดังกล่าวโดยพัฒนาและขยายรปแบบการประเมิน
               ของ Kirkpatrick จำแนกใหม่ออกเป็น 5 ระดับ (Kaufman’s Five Levels of Evaluation)
               โดยเฉพาะการประเมินผลระดับ Level 1 พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนคำเรียกระดับการประเมินเป็น

                                  ี
                                                                             ้
               ระดับInput (เทียบเคยงกับ Level 0,1)ที่ประเมินดานทรพยากรที่ใชในการพัฒนาศักยภาพ  ระดับ
                                                              ้
                                                                   ั
               Process (Level 1)ประเมินความพึงพอใจในกระบวนการพัฒนาศักยภาพ  ระดับMicro (Level 2,
               3)ประเมินผลการเรียนรู้ที่เกิดกับบุคลากร ระดับMacro (Level 4) ประเมินผลกระทบด้านการนำ
               ความรู้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อองค์กร และ ระดับMega ที่ประเมินผลกระทบต่อชุมชน/สังคม
               แม้ว่า รูปแบบการประเมินของ Kaufman จะให้ความสำคัญกับการประเมินทรัพยากรขององค์กร
               ก่อนการพัฒนาศักยภาพ (Level 0/Input ) แต่ยังมีข้อจำกัดด้านการนำไปใช้จริง โดยเฉพาะการ

                                                                                 ้
               ประเมินระดับMicro ที่รวมผลการเรียนรู้ของบุคลากรไว้หลายประเด็นดวยกัน จึงมีข้อเสนอให้แยก
               ระดับการประเมินผลการเรียนรู้ออกเป็น 6 ระดับ ประกอบด้วย Input, Process, Acquisition,
               Application, Organization results และ Societal/Customer consequences  (Downs, 2019:

               7-9)
                       ขณะที่รูปแบบการประเมินผลการเรียนรู้ของ Kirkpatrick และ Kaufman ให้ความสำคัญ

               กับการประเมินผล 2 ระดับกับวิธีการประเมินเชิงปริมาณค่อนข้างมากนั้น ยังมีรูปแบบการ
               ประเมินผลการเรียนรู้อื่นๆที่เน้นข้อมูลรายละเอียดเชิงคุณภาพ ตัวอย่างเช่น วิธีการประเมินจาก
                                           ็
               กรณีศึกษาที่ประสบความสำเรจ (Brinkerhoff’ s Success Case Method) ซึ่งมีจุดแข็งในแง่ที่ชวย
                                                                                                       ่
                                                                                    ั
                                                                            ่
                           คู่มือการถอดบทเรียนการทำงาน (Lessons Distilled) โดยประภาพรรณ อุนอบและณภทร ประภาสุชาติ
                                                                                                       28
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38