Page 388 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 388

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                    สําหรับการอ้างถึงสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาโดยประเทศท่มิได้เป็นภาคีของอนุสัญญา
                                                                       ี
            หรือสนธิสัญญาที่ถูกอ้าง  โดยทั่วไปหากเป็นประเทศในระบบเอกนิยม เช่น กรณีของประเทศ
            ฟิลิปปินส์ ก็อาจมีการอ้างถึงอนุสัญญาที่ประเทศฟิลิปปินส์มิได้เป็นภาคีอยู่บ้าง  ส่วนประเทศ

            ที่เป็นระบบทวินิยม นอกจากประเทศไทยแล้ว ประเทศอื่น ๆ ก็มีการอ้างอนุสัญญาที่ประเทศ
                                                                              ี
                                                                    ี
                  ั
                                                              ี
            เหล่าน้นมิได้เป็นภาคีอยู่บ้างเช่นกัน เช่น บางประเทศท่มีคดีเก่ยวกับเด็กท่ถูกกักกันในคุกหรือ
                                                            ื
                                                       ี
            ผู้อพยพชาวโรฮิงญา ก็มีการอ้างถึงอนุสัญญาผู้ล้ภัยเพ่อสนับสนุนเหตุผลตามคําพิพากษา แม้
            ประเทศนั้นจะมิได้เป็นภาคีของอนุสัญญาดังกล่าวก็ตาม สําหรับประเทศไทยนั้น โดยปกติแล้ว
                                                                                             ั
            ศาลไทยแทบมิได้มีการอ้างถึงอนุสัญญาหรือสนธิสัญญาท่ประเทศไทยมิได้เป็นภาคี เพราะฉะน้น
                                                              ี
            เพ่อป้องกันมิให้เกิดปัญหาทางกฎหมายตามมาว่าศาลไทยจะสามารถหยิบยกหรืออ้างถึง
               ื
                                                                                ิ
                       ี
            อนุสัญญาท่ประเทศมิได้เป็นภาคีได้หรือไม่ ศาลยุติธรรมไทย โดยเฉพาะอย่างย่งศาลแรงงานควร
            เริ่มจากสิ่งที่ศาลไทยสามารถทําได้แต่ยังไม่ได้ทําเสียก่อน คือ การอ้างอนุสัญญาที่ประเทศไทย
            เป็นภาคีแล้วในฐานะที่เป็นแรงบันดาลใจหรือเป็นข้อสนับสนุนเหตุผลตามคําพิพากษา มิใช่อ้าง
                                   ่
                                                                   ึ
            ในฐานะทเป็นกฎหมายทศาลปรบใช้แก่คดโดยตรง จากการศกษาพบว่า ศาลยตธรรมกมได้
                                   ี
                     ี
                     ่
                                                  ี
                                                                                   ุ
                                                                                     ิ
                                                                                           ็
                                                                                            ิ
                                         ั
            ปฏิเสธการอ้างอิงกฎหมายระหว่างประเทศ เห็นได้จากศาลอาญาในคดีหนึ่งรับฟังข้อเสนอของ
                                       ื
                                                                 ี
            กระทรวงการต่างประเทศในเร่องข้อตกลงระหว่างประเทศเก่ยวกับการทรมาน เพียงแต่ผลของ
                                                                                 ั
                ั
                     ื
            คดีน้น เม่อศาลรับฟังข้อเท็จจริงประกอบกับข้อตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าน้นแล้วได้วินิจฉัย
            ว่าไม่มีการละเมิดข้อตกลงระหว่างประเทศแต่อย่างใด
                                                           2
                    การที่ศาลในประเทศไทยหลายศาลเริ่มมีการอ้างกฎหมายระหว่างประเทศมาสนับสนุน
            เหตุผลในการวินิจฉัยช้ขาดคดี ตลอดจนใช้กฎหมายระหว่างประเทศในการอุดช่องว่างทาง
                                 ี
                                                         ี
                                                             ํ
                                            ี
                                  ึ
            กฎหมาย ศาลแรงงานจงมีโอกาสท่ดมากเช่นกันทจะนาเอากฎหมายแรงงานระหว่างประเทศ
                                             ี
                                                         ่
                       ี
            อย่างน้อยท่สุดคือกฎหมายแรงงานระหว่างประเทศท่ประเทศไทยเป็นภาคีจํานวนเกือบ 20 ฉบับ
                                                          ี
                                                                              ั
                                                                     ึ
            มาเป็นข้อสนับสนุนประกอบคําวินิจฉัยช้ขาดของศาลได้เช่นกัน ซ่งจะเป็นท้งแรงบันดาลใจและ
                                                ี
            การแสดงออกท่ดในการเคารพและยอมรับมาตรฐานระดับสากล แม้ศาลผกพันท่จะต้องพจารณา
                                                                                        ิ
                                                                                 ี
                                                                           ู
                          ี
                           ี
            พิพากษาคดีบนพื้นฐานของกฎหมายไทยก็ตาม ขอฝากไว้ว่า ในช่วงชีวิตการทํางานของกระผม
            อยากจะเห็นพัฒนาการของศาลไทยในการอ้างอิงหรือปรับใช้มาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ
            ในคําพิพากษาเพื่อยกระดับคําพิพากษาของศาลไทยให้มีความเป็นสากลมากยิ่งขึ้นครับ
                    2   Vitit Muntarbhorn, ‘International Law in Asian and Pacific States: Thailand’, in Simon Chesterman, Hisashi
            Owada, and Ben Saul (eds), The Oxford Handbook of International Law in Asia and the Pacific (OUP 2019))
            386
   383   384   385   386   387   388   389   390   391   392   393