Page 2 - ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
P. 2

ประมวลจริยธรรมขาราชการตุลาการ


                                                        หมวด ๑

                                                อุดมการณของผูพิพากษา


               บทบัญญัติ

                              ขอ ๑  หนาที่สําคัญของผูพิพากษา คือ การประสาทความยุติธรรมแกผูมีอรรถคดี

               ซึ่งจักตองปฏิบัติดวยความซื่อสัตยสุจริต เที่ยงธรรม ถูกตองตามกฎหมาย และนิติประเพณี ทั้งจักตอง
               แสดงใหเปนที่ประจักษแกสาธารณชนดวยวาตนปฏิบัติเชนนี้อยางเครงครัดครบถวน เพื่อการนี้

               ผูพิพากษาจักตองยึดมั่นในความเปนอิสระของตนและเทิดทูนไวซึ่งเกียรติศักดิ์แหงสถาบันตุลาการ

               คําอธิบาย

                              (๑) ความยุติธรรม : คําที่ใหคํานิยามยากที่สุดคําหนึ่งในทุกภาษาก็คือ“ความยุติธรรม”
               ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒                 ใหคํานิยามคําวา “ยุติธรรม” ไววา :

               “ความเที่ยงธรรม ความชอบธรรม ความชอบดวยเหตุผล” คําวา “เที่ยงธรรม” มีคํานิยามวา :
               “ตั้งตรงดวยความเปนธรรม”
                              ในทางอรรถคดีนั้น คําวา “ความยุติธรรม”  นี้เปนหัวใจของวิชาชีพตุลาการโดยแท

               มีคํานิยามที่นาพิเคราะหคือ  คํานิยามของลอรด เดนนิ่ง อดีตอธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณของอังกฤษ
               ซึ่งมีวา : “ความยุติธรรมไดแกเรื่องที่บุคคลในสังคมซึ่งเปนบุคคลที่มีเหตุผลและมีความรูสึกผิดชอบ

               เชื่อมั่นวาเปนเรื่องที่ชอบธรรม”  (Justice is  what the right-minded members  of the
               community-those  who  have  the  right  spirit  within  them-believe to  be fair  : Lord
               Denning, The Road to Justice, London : Stevens and Sons, 1955, at page  4.)

                              จอหน  โรลส  ศาสตราจารยอเมริกันในวิชาปรัชญา  ใหคํานิยามคําวาความยุติธรรมไว
               ในทํานองเดียวกัน แตมองอีกแงหนึ่งคือ “ความยุติธรรมไดแกเรื่องที่บุคคลที่มีเหตุผลถือวา

               เปนเรื่องที่ชอบธรรม  ถาหากบุคคลเหลานั้นตองวินิจฉัยในเรื่องนั้น ทั้งนี้โดยที่ตนเองไมมีทาง
               จะลวงรูเลยวาตนเองจะมีสวนเกี่ยวของกับเรื่องนั้นอยางไรบาง”  (Justice …  is …  what rational
               people would regard as fair, if they had to decide that question with no knowledge

               whatever of what their own position  would be : John Rawls, A Theory of Justice,
               London : Oxford University  Press, 1972, ซึ่งอางถึงใน Sir Norman Anderson, Liberty,

               Law and Justice, London : Stevens and Sons, 1978, at page 140.)

                              พระราชปรารภของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ที่ปรากฏในหิรัญบัตร
               ซึ่งไดพบจากการรื้อถอนอาคารศาลแพงหลังเดิมไดกลาวถึงความสําคัญของความยุติธรรมไววา  “...การ
                                                         หลัก
               ยุติธรรมอันเดียวเปนการที่สําคัญยิ่งใหญ  เปน                การชําระตัดสินความทุกโรงศาล  เปนเครื่อง
                                                         ประธาน
   1   2   3   4   5   6   7