Page 6 - ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
P. 6

อนึ่ง  คําวา  “ฉันทาคติ”  นั้นมีความหมายครอบคลุมถึงความโลภดวย  ดังปรากฏ

               ในหลักอินทภาษวา  “...แลซึ่งวาใหผูพิภากษาปราศจากฉันทาคะตินั้นคือใหทําจิตรใหนิราศ
               ขาดจากโลภ อยาไดเห็นแกลาภะโลกามิศสีนจางสีนบน...”
                              (๓)  สํารวมตนใหเหมาะสมกับตําแหนงหนาที่ :  การที่ผูพิพากษาออกนั่งบัลลังก

               ทําหนาที่เปนศาลนั้น ก็เปนที่เคารพยําเกรงของคูความและบุคคลที่เกี่ยวของในคดีความ
               ตลอดจนบุคคลทั่วไปที่ไปฟงการพิจารณาคดีอยูแลว  ไมจําเปนที่ผูพิพากษาจักตองแสดงอํานาจ

               ใหเปนที่ยําเกรงแตอยางใดอีก แตเรื่องสําคัญอยูที่วาผูพิพากษาจักตองปฏิบัติตนใหเปนที่เชื่อถือ
               ศรัทธาของทุกคนที่อยูในศาลดวย การที่จะทําไดดังกลาวผูพิพากษาจักตองสํารวมตนใหเหมาะสม
               กับตําแหนงหนาที่

                              ความ “  สํารวม  ”  นี้  สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา
               สังฆปริณายก (เจริญ  สุวัฑฺฒโน)  วัดบวรนิเวศวิหาร  ใหอรรถาธิบายไววา :  “คือ  ความระมัดระวัง

               เหนี่ยวรั้งจิตใจมิใหขาดสติ  ใหสติตั้งมั่นอยูตลอดเวลาที่ตองการ   ตลอดเวลาที่จําเปน  และเมื่อใจ
               จะฟูฟุงไปในอารมณทั้งหลาย  สติที่ตั้งมั่นก็จะขม  คือ  กดทับใหเปนปรกติอยูได”
                              ขอพึงสังวรสําหรับผูพิพากษา คือ ตองตั้งมั่นระลึกอยูตลอดเวลาที่นั่งบัลลังกวาตน

               ทําหนาที่เปนศาล เปนคนกลางในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี จะลดตัวลงมาโตเถียงหรือพิพาท
               กับคูความ ทนายความ พยาน หรือบุคคลใดไมไดเปนอันขาด ผูพิพากษาเปนศาลไมใชคูพิพาท

               หากมีกรณีที่ชวนวิวาทก็ตองปรามดวยการออกคําสั่งเตือนใหบุคคลเหลานั้นหยุดโตเถียงทันที
               โดยผูพิพากษาไมตอลอตอเถียงดวย การซักถามคูความหรือพยานผูพิพากษาก็ซักถามในฐานะ
               ผูเปนกลางมิใชเปนผูแทนตัวความฝายใดฝายหนึ่ง

                              อนึ่ง  การสํารวมตนนี้หมายความรวมถึง  การไมปลอยตัวตามสบายขณะที่นั่งบัลลังก
               เปนตนวา ไมนั่งสัปหงกหรืองวงเหงาหาวนอน  หรือสูบบุหรี่

                              (๔)  แตงกายเรียบรอย :  เมื่อออกนั่งบัลลังกผูพิพากษาตองสวมเสื้อครุยขาราชการ
               ตุลาการตามพระราชบัญญัติเสื้อครุยขาราชการตุลาการและดะโตะยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๕
               ซึ่งบัญญัติวา  “ใหขาราชการตุลาการสวมเสื้อครุยในเวลาขึ้นบัลลังกพิจารณาพิพากษาคดี”

                              ในการสวมเสื้อครุยขาราชการตุลาการ  จะปฏิบัติในทํานองเดียวกันกับการสวมเสื้อครุย
               เนติบัณฑิตตามขอบังคับของเนติบัณฑิตยสภา กลาวคือ ผูพิพากษาที่เปนชาย ตองแตงกาย

               แบบสากลนิยมเปนชุดสีขาว กรมทา ดํา หรือสีอื่นซึ่งเปนสีเขมและไมฉูดฉาด เชิ้ตขาว หรือสีสุภาพ
               ผาผูกคอสีเขม ไมฉูดฉาดแบบเงื่อนกลาสี  หรือแตงเสื้อชุดไทยแบบแขนสั้น หรือแบบแขนยาว สีสุภาพ
               ไมมีลวดลาย แทนเสื้อชุดสากลก็ได รองเทาหุมสนสีขาว น้ําตาลหรือดํา  เขาชุดกันกับเครื่องแตงกาย

               ถุงเทาสีคลายคลึงกับรองเทา
                              ผูพิพากษาที่เปนหญิง แตงกายแบบสากลนิยม กระโปรงสีขาว กรมทา หรือสีอื่น

               ซึ่งเปน สีเขมและไมฉูดฉาด เสื้อสีขาวหรือสีตามกระโปรง รองเทาหุมสนสีขาว น้ําตาล สีดํา
               เขาชุดกันกับเครื่องแตงกาย
                              ผูพิพากษาทั้งชายและหญิงจะแตงเครื่องแบบราชการก็ได

                              (ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวยเครื่องแบบของขาราชการตุลาการ
               และดะโตะยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๙)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11