Page 5 - ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
P. 5

บทบัญญัติ


                              ขอ ๓  ในการนั่งพิจารณาคดี  ผูพิพากษาจักตองวางตนเปนกลางและปราศจากอคติ
               ทั้งพึงสํารวมตนใหเหมาะสมกับตําแหนงหนาที่ แตงกายเรียบรอย ใชวาจาสุภาพ ฟงความ

               จากคูความและผูเกี่ยวของทุกฝายอยางตั้งใจ ใหความเสมอภาค และมีเมตตาธรรม


               คําอธิบาย
                              (๑)  วางตนเปนกลาง : ผูพิพากษาจักตองแสดงออกซึ่งความเปนกลางในการ
               พิจารณาคดี  ไมเขาขางฝายใดฝายหนึ่ง ปฏิบัติตอคูความและผูเกี่ยวของทุกฝายเสมอเหมือนกัน

               ทุกประการ จักตองมิใหคูความหรือผูเกี่ยวของรูสึกวาตนไดรับการปฏิบัติที่ดอยกวาผูอื่น
                              ในเรื่องการวางตัวเปนกลางของผูพิพากษานี้ มีปญหาซึ่งเกิดขึ้นเสมอในอีกแงหนึ่ง

               คือ ผูพิพากษาเองบางครั้งตัดสินใจไวลวงหนาแลววาจะใหฝายใดชนะคดี  และระงับความรูสึกอันแทจริง
               ของตนไวไมได  เขาเปนฝกเปนฝายโตเถียงแทนคูความฝายที่ตนจะใหชนะนั้นเสมือนหนึ่งตนเปนทนายความ
               ของคูความฝายนั้นเสียเอง หรือในคดีอาญาผูพิพากษาบางคนลั่นวาจาคาดโทษจําเลยไวลวงหนาวา

               ถาปรากฏวาทําผิดจริง จะลงโทษจําเลยใหหนัก  เชนนี้ยอมทําไมได เพราะผูพิพากษามิไดอยูในฐานะ
               ที่จะพิจารณาโทษอยางบิดามารดาปกครองบุตร  หรือครูปกครองนักเรียน  แตผูพิพากษาอยูในฐานะคนกลาง

               ถาปฏิบัติตนดังกลาวคูความอีกฝายหนึ่งจะรูสึกทันทีวาตนไมไดรับความยุติธรรมเสียแลว เพราะ
               ผูพิพากษาลําเอียง ทําใหตนเสียเปรียบในเชิงคดีตั้งแตเริ่มคดี
                              (๒)  ปราศจากอคติ : อุปสรรคสําคัญประการหนึ่งซึ่งทําใหการวินิจฉัยอรรถคดี

               ปราศจากความเที่ยงธรรมก็คือ อคติสี่ กลาวคือ ฉันทาคติ ลําเอียงเพราะรัก โทสาคติ ลําเอียง
               เพราะโกรธ ภยาคติ  ลําเอียงเพราะกลัว และโมหาคติ ลําเอียงเพราะเขลา เรื่องของอคติเปนเรื่อง

               ของมนุษยปุถุชนโดยแท นอยคนนักที่จะไมมีอคติ คําถวายสัตยปฏิญาณของผูพิพากษาตอองค
               พระมหากษัตริยก็มีเรื่องที่ผูพิพากษาจักตองปราศจากอคตินี้อยูดวย แตในทางปฏิบัติเรื่องนี้
               มิใชเรื่องงาย  โดยเฉพาะการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีนั้น  มิใชเรื่องตรงไปตรงมาธรรมดา ๆ

               อยางเรื่องสองบวกสองเปนสี่ หรือเรื่องที่เห็นดําเห็นแดงกันงาย ๆ  ซ้ําบางเรื่องก็สลับซับซอน ดําก็ไมใช
               แดงก็ไมเชิง  อคติที่วานี้โดยเฉพาะในหมูผูพิพากษามิใชมีอคติเพียงตอตัวบุคคลซึ่งเปนคูความ

               ทนายความ  หรือพยานเทานั้น  หากแตยังมีอคติตอขอคิดเห็น ทีทา ความเชื่อ และประเพณีบางเรื่อง
               หรือตอความผิดประเภทใดประเภทหนึ่งโดยเฉพาะอีกดวย เปนตนวาอาจตั้งขอรังเกียจความผิด
               ทางเพศและการทุจริตตอหนาที่ราชการมากกวาความผิดฐานอื่น  ซึ่งแตละเรื่องเหลานี้  ลวนเปนเรื่อง

               ล้ําลึกมากกวาอคติตอตัวบุคคลมากนัก  และที่มีอันตรายมากก็คือ ผูพิพากษาบางคนอาจไมรูตัวดวยซ้ํา
               ไปวาตนเองมีอคติในเรื่องนั้น  เรื่องนี้จึงเปนหนาที่ของผูพิพากษาทุกคนที่จะตองเฝาคอยสอดสอง

               และทดสอบตนเองอยูตลอดเวลาวามีอคติอันใด กับผูใด หรือเรื่องใดหรือไม ทางปองกันอคติในการ
               วินิจฉัยอรรถคดีที่ดีทางหนึ่งก็คือ  ตองมีอุเบกขา  ตองทําใจเปนกลางจริง ๆ  ไมพึงดวนตัดสินใจวา
               ใครถูกใครผิด  กอนที่จะไดฟงความครบถวนกระบวนการจากทุกฝายและไดใครครวญอยางถวนถี่แลว

               ซึ่งเรื่องนี้เปนเรื่องธรรมดาแท ๆ แตเมื่อผูใดมีอคติเขา ผูนั้นก็มองขามหลักเบื้องตนของการวินิจฉัย
               อรรถคดีไปเสียงาย ๆ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10