Page 7 - ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
P. 7

(๕) ใชวาจาสุภาพ : การใชวาจาสุภาพนี้  มิใชหมายความเฉพาะแตถอยคําสุภาพ

               เทานั้น หากแตหมายรวมถึงการใชถอยคําที่เหมาะสมและไมกระทบกระเทียบ เปรียบเปรย
               รวมตลอดทั้งน้ําเสียงและทีทา ซึ่งตองสุภาพ นุมนวลดวย
                              คําเตือนผูพิพากษาของพระยาจินดาภิรมย  (ตอมาโปรดเกลา ฯ พระราชทานเลื่อน

               บรรดาศักดิ์เปนเจาพระยาศรีธรรมาธิเบศฯ) เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ซึ่งไดพิมพแจกแก
               ผูพิพากษาที่จะออกไปรับราชการใหมใน พ.ศ. ๒๔๗๒ ตอนหนึ่งวา :         “ ทานจําตองระวังกิริยา

               และวาจาใหเปนไปโดยสุภาพ จะวากลาวบังคับคูความก็ดี ซักถามพยานก็ดี หรือจะตัดสินความก็ดี
               ควรใชสํานวนโวหารที่สุภาพ ”
                              (๖)   ฟงความจากคูความและผูเกี่ยวของทุกฝายอยางตั้งใจ : หลักสากลที่สําคัญ

               เกี่ยวกับการพิจารณาคดีหลักหนึ่งคือ  “ศาลตองฟงความจากคูความทั้งสองฝาย ” (Both sides must
               be heard.) ตามปกติคูความแตละฝายมักออนไหวตอทีทาของผูพิพากษาอยูแลว ถาหากผูพิพากษา

               ฟงความของแตละฝายดวยความตั้งใจและไมตัดบทจนกวาจะตระหนักวาเรื่องที่กําลังฟงอยูนั้น
               เปนเรื่องนอกประเด็น  ก็ยอมจะชวยใหผูพิพากษาเขาใจและทราบเรื่องที่จะตองวินิจฉัยถูกตอง
               ทั้งคูความทุกฝายก็จะมั่นใจวาศาลตระหนักดีแลววาคดีความของฝายตนเปนอยางไร

                              อนึ่ง  โซคราตีส  ปรัชญาเมธีผูหนึ่งของกรีกโบราณใหทรรศนะวา คุณสมบัติสําคัญ
               ของผูพิพากษามีสี่ประการคือ: ฟงดวยความตั้งใจ, ตอบดวยความสุขุม, พิจารณาดวยความ

               พินิจพิเคราะห และวินิจฉัยโดยปราศจากความลําเอียง (Four  things belong to a judge : to
               hear courteously, to answer wisely, to consider soberly and to decide impartially :
               Socrates)

                              (๗)  ใหความเสมอภาค : ในการดําเนินกระบวนพิจารณานั้น  ผูพิพากษาจักตอง
               ใหโอกาสคูความทุกฝายในการตอสูคดีเทาเทียมกัน เชน เมื่อศาลอนุญาตใหคูความฝายหนึ่งซักถาม

               พยานไดหลังจากการถามติงแลว  ก็ควรอนุญาตใหคูความอีกฝายหนึ่งซักถามพยานปากอื่นไดดวย
               ในเมื่อมีเหตุผลสมควรทํานองเดียวกัน
                              (๘)  มีเมตตาธรรม  :   เรื่องเมตตาธรรมในที่นี้มิใชเรื่องใหความสงสารแกจําเลย

               หรือเห็นใจโจทก เพราะเรื่องแพชนะในทางอรรถคดียอมเปนไปตามรูปคดีโดยเฉพาะ หากแต
               เปนเรื่องความมีน้ําใจ มีความปรารถนาดีตอผูมาศาลซึ่งโดยปกติก็เปนผูทุกขรอนหรือเปนผูที่มี

               ความยําเกรงศาลอยูแลว  เชน  จําเลยปวยระหวางนั่งพิจารณาก็ใหรับประทานยาได  หรือพยานติดอาง
               มากก็ใหโอกาสและเวลาพยานเบิกความตามสมควร


               บทบัญญัติ


                              ขอ ๔  ผูพิพากษาจักตองพิจารณาคดีโดยไตรตรอง  สุขุม  รอบคอบ  และไมชักชา
               พึงตัดการดําเนินกระบวนพิจารณาที่ไมจําเปนออกเพื่อใหการพิจารณาคดีเปนไปดวยความรวดเร็ว
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12