Page 9 - ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
P. 9

คําอธิบาย

                              เรื่องละเมิดอํานาจศาล  :  บทบัญญัติของกฎหมายที่ใชยากสําหรับผูพิพากษาบทหนึ่ง
               ไดแก บทบัญญัติเรื่องละเมิดอํานาจศาล เพราะเมื่อมีปญหาเกิดขึ้นก็เปรียบเสมือนผงเขาตา
               ผูพิพากษาเอง  ถาหากผูพิพากษาแยกเรื่องอารมณออกจากงานในหนาที่ไมไดก็อาจจะเกิดโทสจริต

               เขาแทนที่และผลีผลามใชอํานาจที่ตนมีอยูอยางเต็มที่โดยขาดการกลั่นกรองและใครครวญอยางสุขุม
               ความอยุติธรรมยอมเกิดขึ้นแกผูที่เปนคูความหรือผูอื่นที่เกี่ยวของทันที ในทางตรงกันขาม

               ถาผูพิพากษาละเวนไมยอมใชบทบัญญัติเรื่องละเมิดอํานาจศาลเสียเลย เมื่อปรากฏวามีกรณี
               ลวงละเมิดอํานาจศาล ก็หาเปนการชอบไม  เมื่อมีกรณีจําเปนเพื่อความสงบเรียบรอยในบริเวณศาล
               หรือเพื่อรักษาไวซึ่งความศักดิ์สิทธิ์ของสถาบันตุลาการ  ก็ตองใชบทบัญญัติเรื่องละเมิด

               อํานาจศาลตามสมควรแกพฤติการณแหงคดี  เนื่องจากเรื่องละเมิดอํานาจศาลนี้เปนเรื่อง “ผงเขาตา
               ผูพิพากษาเอง”      การใชดุลพินิจวาอยางไรสมควรแกพฤติการณแหงคดียอมเปนเรื่องยาก

               เพื่อละเวนมิใหเปนเรื่องลุแกโทสะสมควรที่ผูพิพากษาจะตองปรึกษาหารือผูบังคับบัญชา
               และองคคณะพิจารณาพิพากษาคดีอยางสุขุมรอบคอบกอนที่จะออกคําสั่งใด ๆ ในเรื่องละเมิด
               อํานาจศาลนี้


               บทบัญญัติ


                              ขอ  ๖  ผูพิพากษาจักตองละเวนการกลาวถึงขอเท็จจริงในคดีที่อาจ
               กระทบกระเทือนตอบุคคลใด  ไมวิจารณหรือใหความเห็นแกคูความหรือบุคคลภายนอกเกี่ยวกับคดี

               ที่อยูระหวางการพิจารณาหรือกําลังจะขึ้นสูศาล  แตผูพิพากษาผูมีอํานาจอาจแถลงใหประชาชน
               เขาใจถึงวิธีพิจารณาความของศาลเมื่อมีเหตุผลสมควร


               คําอธิบาย
                              ดูคําอธิบายในจริยธรรมขอ  ๒๘  ประกอบ

                              (๑)  ในการพิจารณาคดีของศาล  ผูพิพากษาจักตองระมัดระวังไมวิพากษวิจารณหรือ
               ใหความเห็นใด ๆ  อันเกี่ยวกับคดีนั้น  หรือคูความ  หรือบุคคลที่เกี่ยวของกับคดีนั้น  หรือแมในกรณี

               ที่ยังไมเปนคดีความ  แตอาจจะเปนคดีขึ้นได  ก็ไมพึงวิพากษวิจารณหรือใหความเห็นดุจกัน
               เพราะคูความก็ดี  บุคคลที่เกี่ยวของก็ดี  เชื่อวา  ผูพิพากษาอยูในฐานะที่จะบันดาลใหฝายใดชนะหรือ
               แพคดีได การแสดงขอติชมหรือความเห็นกอนพิพากษาคดีนั้นยอมจะทําใหฝายใดฝายหนึ่งที่เกี่ยวของ

               สะเทือนใจ และระแวงในความเปนกลางหรืออุปาทานของผูพิพากษาได
                              (๒)  ผูพิพากษาผูมีอํานาจอาจแถลงใหประชาชนเขาใจถึงวิธีพิจารณาความ

               ของศาลเมื่อมีเหตุผลสมควร  :
                              คําวา  “ผูพิพากษาผูมีอํานาจ”  ในที่นี้มิไดหมายความถึงผูพิพากษาเจาของสํานวน
               หรือผูพิพากษาซึ่งเปนองคคณะพิจารณาพิพากษาคดี  หากแตหมายความถึงผูพิพากษาหัวหนาศาล

               อธิบดีผูพิพากษาภาค  อธิบดีผูพิพากษาศาลชั้นตน  ประธานศาลอุทธรณ  ประธานศาลอุทธรณภาค
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14