Page 13 - ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
P. 13

เรื่องหนึ่งที่ศาลจะตองพิจารณาประกอบการวินิจฉัยชั่งน้ําหนักคําพยาน และดุลพินิจในการลงโทษ

               จําเลย  แตทั้งนี้มิไดหมายความวา  ถาไมปรากฏสาเหตุแหงการกระทําความผิดแลว ศาลจะลงโทษ
               จําเลยไมได การที่จําเลยจะถูกลงโทษหรือไม  อยูที่วาเมื่อศาลชั่งน้ําหนักพยานหลักฐานทั้งปวงแลว
               ศาลแนใจวาจําเลยเปนผูกระทําความผิดนั้นหรือไม

                              (ค)  หลักกฎหมายที่ผูพิพากษาพึงพิเคราะหประกอบกับบทบัญญัติที่ใหอํานาจศาล
               เปนพิเศษดังกลาวก็คือ  ศาลตองฟงความทั้งสองฝาย  ศาลตองใหคูความทุกฝายไดมีโอกาสถามพยานบุคคล

               ที่ศาลเรียกมาสืบ และคัดคานพยานเอกสารที่ศาลเรียกมาประกอบการพิจารณาดวย เวนแตกฎหมายจะ
               ไดบัญญัติไวเปนประการอื่น
                              อนึ่ง  การที่ศาลจะซักถามพยานของคูความ  หรือเรียกพยานมาสืบเองนั้น เพื่อมิใหเกิด

               ความสับสนแกคูความในการซักถามพยาน  หรือเกิดความไดเปรียบเสียเปรียบกันในเชิงคดี ศาลควรจะ
               กระทําเมื่อคูความแตละฝายซักถามหรือนําสืบพยานของฝายตนเสร็จเรียบรอยแลว นอกจากมีเหตุผล

               พิเศษประการใดประการหนึ่ง
                              (๓) มีกฎหมายบัญญัติไวใหศาลเปนผูกระทําเอง  :
                              ตัวอยางเชน ในการสืบพยานกอนฟองคดีตอศาล เมื่อมีเหตุอันควรเชื่อไดวา

               พยานบุคคลซึ่งจะตองนํามาสืบในภายหนาจะเดินทางออกนอกประเทศยากแกการนําสืบนั้น
               หากศาลเห็นวาไมสามารถตั้งทนายใหผูตองหาไดหรือผูตองหาไมอาจตั้งทนายไดทัน ก็ใหศาล

               ซักถามพยานนั้นใหแทน  :  ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา  มาตรา  ๒๓๗  ทวิ วรรคสอง
                              พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒
               มาตรา ๔๕ วรรคสอง บัญญัติวา “ในการสืบพยานไมวาจะเปนพยานที่คูความฝายใดอางหรือ

               ที่ศาลแรงงานเรียกมาเอง  ใหศาลแรงงานเปนผูซักถามพยาน  ตัวความหรือทนายความจะซักถามพยาน
               ไดตอเมื่อไดรับอนุญาตจากศาลแรงงาน”


               บทบัญญัติ


                              ขอ  ๑๐  การบันทึกคําเบิกความ ผูพิพากษาจักตองบันทึกเฉพาะขอความ
               ในประเด็นขอพิพาท หรือเกี่ยวเนื่องกับประเด็นขอพิพาท และตองไดสาระถูกตองครบถวน

               ตามคําเบิกความ
                              การบันทึกคําแถลงและรายงานกระบวนพิจารณา จักตองใหไดความชัดแจง
               และตรงตามขอเท็จจริงที่ปรากฏ


               คําอธิบาย

                              (๑)  ในการบันทึกคําเบิกความของพยานนั้น  ตองใหไดเนื้อหาถูกตองครบถวนตามที่
               พยานเบิกความ และพึงใชถอยคําที่พยานเบิกความ  เปนตนวา พยานเบิกความวา “เวลาเพล”
               ก็บันทึกวา  “เวลาเพล”  มิใชบันทึกวา  “เวลา  ๑๑.๐๐  น.”  อยางไรก็ตามไมจําเปนที่ผูพิพากษา

               จักตองบันทึกถอยคําของพยานทุกถอยคํา  นอกจากขอความตอนนั้นเปนเรื่องสําคัญอันเกี่ยวกับ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18