Page 16 - ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
P. 16
๒ นายจึ่งจะเปนองคคณะนั้น ก็เพื่อจะไดประชุมปรึกษากัน ไมใชจะตองตามใจกัน เวนแต
จะเห็นพองรวมกัน ในการออกความเห็นเชนนี้ทานตองพยายามชี้แจงเหตุผลและยกหลักฐาน
ขึ้นชี้แจง ถาเขาไมฟงไมควรถือโกรธ และตองจําไววาเราเปนคนใหมยังไมมีความชํานาญ แมจะชี้แจง
คัดคานตองทําดวยความออนโยนอยาแข็งกระดาง การเถียงนั้นไมพึงถือแตความเห็นของตนอยางเดียว
ตองฟงความเห็นของเขามาพิจารณาเขาดวย ถาของเขาชอบดวยเหตุผลของเราผิดก็ตองยอมรับผิด
เวนแตของเราถูกจึงจะยืนไว การเถียงนั้นตองเถียงกันโดยสุภาพ พนเวลาเถียงแลวหนักนิดเบาหนอย
ถอยทีถอยอาศัยกันไมควรถือมาเปนอารมณเพื่อคุมแคนโกรธเคืองกันตอไปอีก เพราะเปนเรื่องเกี่ยวกับ
การงานที่จําตองปรึกษาและโตเถียงกันเปนธรรมดา”
(ข) เพื่อที่จะใหไดคําวินิจฉัยชี้ขาดที่ถูกตองและเปนธรรม ผูพิพากษาพึงยึดหลักอยางนอย
สามประการในการวินิจฉัยอรรถคดี กลาวคือ
ประการแรก : ความมีสามัญสํานึก
ในปญหาขอเท็จจริงนั้นเห็นไดงายวา การชั่งน้ําหนักพยานหลักฐานเพื่อเสาะหา
ความจริงใหไดวาเปนประการใดนั้น ยอมตองอาศัยสามัญสํานึก หรือเหตุผลธรรมดาโดยสิ้นเชิง
สวนปญหาขอกฎหมายนั้น ก็เชนเดียวกัน ในการตีความกฎหมายพึงตีความไปในทางที่มีความหมาย
อันสมควรและมิใชไปในทางที่ไมควรจะเปนหรือบังเกิดผลประหลาด (manifest absurdity)
ถาตีความบทบัญญัติแหงกฎหมายตามตัวอักษรแลวบังเกิดผลประหลาดยอมตองใฝหาเจตนารมณ
อันแทจริงของกฎหมายบทนั้นใหไดวาประสงคอะไร ซึ่งโดยปกติแลวยอมไดแกความอยูรอดของสังคม
และความเที่ยงธรรมแกคูความทุกฝายนั่นเอง แมกระนั้นก็ดี ยังมีบางคนตีความกฎหมายอยาง
เถรตรง โดยไมคํานึงถึงผลแหงการตีความนั้นวาทําใหบังเกิดผลประหลาดและสรางความอยุติธรรม
อยางไรบาง เมื่อถูกติงก็โยนกลองกลับไปสูฝายนิติบัญญัติวา ก็ตรากฎหมายออกมาเชนนั้น จะใหทํา
อยางไรได คําถามที่ผูพิพากษานาจะตั้งถามตนเองตลอดเวลาไดแกคําถามที่วา การที่จะวินิจฉัยเชนนั้น
จะเปนการสอดคลองตองดวยสามัญสํานึกหรือไม เรื่องของสามัญสํานึกนี้ก็เชนเดียวกันกับเรื่องอคติ
อันมิใชเรื่องงาย เพราะตางคนตางก็คิดวาการวินิจฉัยของตนตองดวยสามัญสํานึกอยูแลว ขอที่อาจ
ผิดหลงไดงายนี้ จําเปนตองอาศัยองคคณะผูพิพากษา หรือเพื่อนรวมงานไดชวยติหรือติงให
หลายสมอง หลายความคิด ยอมจะแกไขเรื่องขาดสามัญสํานึกไดเปนอันมาก
ประการที่สอง : ความพอเหมาะพอควร
เรื่องการใชดุลพินิจในทางอรรถคดีของผูพิพากษาวาพอเหมาะพอควรเพียงไร เปนตนวา
ในคดีอาญาจะลงโทษจําเลยเพียงใด ในคดีแพงจะใหคาเสียหายโจทกเพียงไรจึงจะพอเหมาะพอควร
เปนเรื่องยากที่สุดเรื่องหนึ่ง เพราะแตละคนตางก็คิดกันวาตนเองวินิจฉัยในคดีนั้นพอเหมาะพอควรแลว
ดังนั้น องคคณะผูพิพากษาจักตองชวยเหนี่ยวรั้งหรือชวยกันใครครวญใชดุลพินิจหาความพอดี
ในการวินิจฉัยใหได
ประการที่สาม : สัมมาทิฐิ
ความจริง การวินิจฉัยอรรถคดีนั้น สวนใหญเปนเรื่องของความเห็น บางกรณีจะถือ
วาคนนั้นผิด คนนี้ถูกก็ยาก บางเรื่องเปนเรื่องที่เห็นกันอยูชัดแจงวาผิด แตทานก็ยังยืนยันวาถูก
หรือควรจะเปนเชนนั้น ทั้ง ๆ ที่ก็ตระหนักดีวาผิด ดังนี้เปนเรื่องของมิจฉาทิฐิ แตบางเรื่องถาทาน