Page 19 - ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
P. 19

ที่ไดวางกันขึ้นไวนั้นไมใชสิ่งที่เราจะตองรับผิดชอบ เราจะรับผิดชอบเฉพาะแตเจตนาในการที่จะรักษา

               ความยุติธรรมโลกแตอยางเดียว
                               เพราะเหตุดังกลาวมานี้เองอาตมาขอยืนยันวา ผูที่พยายามรักษาอุดมคติของตุลาการไว
               ประจําใจอยูเสมอนั้น  ยอมจะมีเจตนาบริสุทธิ์ผุดผองในการที่จะรักษาธรรมของโลก ไมมีเจตนาที่จะ

               ทําใครใหลําบากหรือแกลงทําใครใหเสียชีวิต  และยังจะประกอบไปดวยพรหมวิหารธรรมขอสุดทาย
               อีกดวย  คือ  อุเบกขามีความวางเฉยในเมื่อชวยอะไรไมได  ธรรมขอนี้ทานก็จัดเปนพรหมวิหาร

               คือเปนคุณสมบัติของพรหมดวยเหมือนกัน  เทา ๆ  กับขอเมตตา กรุณา มุทิตา แมวาจะเปนขออุเบกขา
               คือจําเปนตองวางเฉย  ในกรณีที่สัตวจะตองเปนไปตามกรรม  เมื่อประกอบไปดวยพรหมวิหารธรรม
               ขอนี้ดวย และมีอุดมคติแหงบุคคลผูรักษาธรรมของโลกดวย  เจตนาของเขายอมบริสุทธิ์ผุดผอง

               ไมมีบาป ไมมีกรรม เพราะการสั่งบังคับคดี ทั้งจะเปนการตั้งตนอยูในฐานะปูชนียบุคคลของโลกไดดวย
               โดยไมตองสงสัยเลย”

                               (คําอธิบายหลักพระพุทธศาสนาอบรมผูจะรับแตงตั้งเปนตุลาการ  ชุดที่ ๑ ประจําป
               ๒๔๙๙ วาดวยวิชาที่บอกวาอะไรเปนอะไร ของพุทธทาสภิกขุ, ธรรมทานมูลนิธิไชยา เปนผูจัดพิมพ,
               พ.ศ. ๒๕๑๑, หนา ๒๕๐  –  ๒๕๒)

                              (๒)  คําพิพากษาและคําสั่ง  :
                               (ก)  ในการวินิจฉัยปญหาขอเท็จจริงนั้น การพิเคราะหขอเท็จจริงตองตรงตาม

               พยานหลักฐานในสํานวนความ เหตุผลอันเกี่ยวกับการชั่งน้ําหนักพยานหลักฐานและการรับฟง
               พยานหลักฐานที่ใหในคําวินิจฉัยตองสมเหตุสมผลสอดคลองกับสามัญสํานึก สวนการวินิจฉัยปญหา
               ขอกฎหมายนั้น  ตามปกติเปนเรื่องการอางอิงบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวของ โดยไมตองใหเหตุผล

               หรืออางเจตนารมณของกฎหมาย เวนแตในกรณีที่ตัวบทกฎหมายมีความเคลือบคลุม หรือมีปญหาวา
               จะใชกฎหมายใดบังคับซึ่งจะตองมีการตีความ ในกรณีหลังนี้พึงใหเหตุผลวาเหตุใดกฎหมายจึงมี

               เจตนารมณครอบคลุมหรือไมครอบคลุมถึงประเด็นแหงขอพิพาทในคดีนั้น
                               (ข)  “ขาวศาล”  เลม  ๒  ฉบับที่  ๒๗  วันที่  ๑๕  พฤศจิกายน  ๒๔๗๕  มีขอแนะนํา
               เกี่ยวกับการเรียงคําพิพากษาไวตอนหนึ่งวา  :

                               “การเรียงคําพิพากษา  เปนกิจสําคัญอยางหนึ่งในหนาที่ของผูพิพากษา ผูที่ไดชื่อวา
               เปนผูพิพากษาที่ดีนั้น มิใชแตเพียงตัดสินความไดยุติธรรมและถูกตองตามกฎหมายเทานั้น

               จักตองตัดสินใหผูไดยินไดฟงเห็นดวยวา  คําตัดสินนั้นเปนยุติธรรม  และชอบดวยกฎหมาย
               การที่จะใหไดผลอยางนี้ ก็คือ จะตองชี้แจง แสดงเหตุผลในการตัดสินใหชัดแจง บทกฎหมายหรือคดี
               แบบอยางหรือหลักกฎหมายที่คูกรณียกขึ้นอางจะนํามาปรับแกคดีได  หรือประการใด  ควรกลาว

               อธิบายไว  เมื่อคูกรณีไดฟงคําพิพากษาแลวใหทราบไดวา เขาชนะหรือแพในประเด็นขอใด และ
               เพราะเหตุใด การเรียงคําพิพากษาโดยไมแจงเหตุผล  กลาวความรวม ๆ แลวรวบหัวรวบหางให

               ฝายโนนแพฝายนี้ชนะนั้น อาจเปนเหตุใหคูความเห็นไปวาเขาไมไดรับความยุติธรรม
                               สวนคําพิพากษาในชั้นศาลสูง  ก็มีขอสําคัญที่ตองเพงเล็งเชนเดียวกัน คือ ประเด็น
               ขอพิพาทใดที่ศาลลางวินิจฉัยไว  และคูกรณีโตเถียงกันขึ้นมา  ยอมเปนประเด็นที่ศาลสูงจักตองวินิจฉัย

               ในการวินิจฉัยประเด็นขอพิพาทเหลานี้  เมื่อจะคงยืน  หรือกลับแกประการใดศาลสูงควรยกเหตุผล
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24