Page 21 - ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
P. 21

(จ)  พึงสังเกตดวยวาฝายราชทัณฑมิไดจําคุกหรือกักขังจําเลยไวโดยอาศัยคําพิพากษา

               เปนหลักฐาน หากแตถือตามหมายจําคุกหรือกักขังเมื่อคดีถึงที่สุดเปนสําคัญ จึงเปนหนาที่ของ
               ผูพิพากษาศาลชั้นตนที่จะตองตรวจสอบการออกหมายใหตรงกับคําพิพากษา ผูพิพากษาสมควร
               จัดระบบการตรวจทานกันในหลาย ๆ  ทางในการออกหมายอาญาใหตรงตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง

               โดยมิใหมีขอบกพรองหรือผิดพลาด
                              (๒)  ในคดีแพง  การคุมครองประโยชนของคูความในชั้นบังคับคดีนั้น ก็เชนเดียวกันกับ

               ในชั้นใชวิธีการชั่วคราวกอนพิพากษา  ซึ่งในกรณีมีเหตุฉุกเฉิน หมายหรือคําสั่งตองออกโดยพลัน
               ในชั้นบังคับคดีนี้  ผูพิพากษาตองออกคําบังคับโดยพลัน ในกรณีที่เจาหนี้ตามคําพิพากษายื่นคํารอง
               ใหศาลออกหมายบังคับคดีโดยชอบแลว ผูพิพากษาตองออกหมายบังคับคดีโดยพลันดุจกัน :

               ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง  มาตรา  ๒๖๗,๒๗๒  และ  ๒๗๖


               บทบัญญัติ

                              ขอ  ๑๔  ผูพิพากษาพึงถอนตัวจากการพิจารณาและพิพากษาคดี เมื่อมีเหตุที่ตน

               อาจถูกคัดคานไดตามกฎหมาย หรือเมื่อมีเหตุประการอื่นที่เกี่ยวกับตัวผูพิพากษา อันอาจทําให
               การพิจารณาพิพากษาคดีนั้นเสียความยุติธรรม และจักตองไมกระทําการใด ๆ อันเปนการจูงใจ

               ผูพิพากษาซึ่งพิจารณาพิพากษาคดีนั้นในภายหลังในประการที่อาจทําใหเสียความยุติธรรมได

               คําอธิบาย

                              (๑)  เหตุที่ผูพิพากษาพึงถอนตัวจากการพิจารณาพิพากษาคดีนั้น สืบเนื่องมาจาก
               หลักกฎหมายที่วา ผูพิพากษาไมควรมีสวนเกี่ยวของกับคูความหรือคดีที่ตนนั่งพิจารณา ไมวา

               ดวยประการใด ๆ
                              (๒)  เมื่อมีเหตุที่ตนอาจถูกคัดคานไดตามกฎหมาย : ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
               ความแพง  มาตรา  ๑๑ -  มาตรา  ๑๔  บัญญัติไวเกี่ยวกับเรื่องที่ผูพิพากษาผูนั่งพิจารณาคดีอาจถูก

               คูความในคดีนั้นคัดคานโดยอาศัยเหตุตาง ๆ ที่บัญญัติไวในมาตราดังกลาวนี้ได และกฎหมายก็ไดกําหนด
               ระยะเวลาของการคัดคาน  การวินิจฉัยชี้ขาดคําคัดคาน  และผลของการวินิจฉัยชี้ขาดคําคัดคานไวดวย

               แตพึงสังเกตวาการที่ผูพิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีอาจถูกคัดคานนั้นเปนสิทธิของคูความที่จะคัดคาน
               และตามกฎหมายผูพิพากษาที่ถูกคัดคานก็มีสิทธิที่จะไมยอมถอนตัวออกจากการนั่งพิจารณาคดีนั้นได
               แตโดยจริยธรรมแลว ผูพิพากษาผูนั้นพึงถอนตัวเวนแตตนเองเห็นวาขอคัดคานนั้นไมมีมูล

               หรือไมมีเหตุอันสมควร เปนตนวา คูความคัดคานเพื่อหาเหตุประวิงคดี หรือกลั่นแกลง หรือมีเหตุ
               อันไมสุจริตใจประการอื่น ซึ่งเมื่อมีการคัดคานและผูพิพากษาผูนั่งพิจารณาไมยอมถอนตัว ก็ตองดําเนิน

               กระบวนพิจารณาตอไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา  ๑๔
                              หากเปนการนั่งพิจารณาคดีอาญา  ผูพิพากษาที่นั่งพิจารณาอาจถูกตั้งรังเกียจได
               ซึ่งการตั้งรังเกียจดังกลาว ก็อาศัยบทบัญญัติวาดวยการคัดคานผูพิพากษาในประมวลกฎหมาย

               วิธีพิจารณาความแพงดังกลาวขางตนไปใชบังคับดวย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
               มาตรา  ๒๗
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26