Page 18 - ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
P. 18

คําอธิบาย
                              (๑)  ละวางอคติทั้งปวง  :
                               (ก)  ดูคําอธิบาย (๑)  ในจริยธรรมขอ ๑  และขอ ๓  ประกอบ

                               (ข)  เปนที่นาสังเกตวาเรื่องอคตินี้ในระบบการศาลของนานาประเทศก็ถือวาเปน
               เรื่องสําคัญที่ผูพิพากษาจักตองสังวรในการพิจารณาพิพากษาคดี  ดังเชนที่ปรากฏในคําถวายสัตย

               สาบานตนของผูพิพากษาอังกฤษ ขณะเขารับตําแหนงผูพิพากษา (The  Judicial  Oath) วา :
                              “  ขาพระองคขอถวายสัตยสาบานตอพระผูเปนเจาผูทรงศักดานุภาพใหญยิ่งวา
               ขาพระองคจักใหความชอบธรรมแกผูคนทุกหมูเหลาตามกฎหมายและประเพณีแหงราชอาณาจักรนี้

               โดยปราศจากความกลัว หรือความลําเอียง ความรัก หรือความมุงราย”
                               (I  do  swear  by  Almighty  God  that…I  will  do  right  to  all  manner

               of  people  after  the  laws  and  usages  of  this  Realm  without  fear  or  favour,
               affection  or  ill-will.)
                               วลีที่วา  “ปราศจากความกลัว  หรือความลําเอียง  ความรัก  หรือความมุงราย”  นั้น

               ใกลเคียงกับอคติสี่ประการในพระพุทธศาสนาอยางยิ่ง
                               (ค)  อคติที่เปนอุปสรรคสําคัญประการหนึ่งในดานการพิพากษาคดีคือ  “ภยาคติ”

               หรือ ความกลัว มีปญหาที่นาพิจารณาคือการตัดสินประหารชีวิตจําเลยที่กระทําผิดมีโทษถึง
               ประหารชีวิตนั้น  ผูพิพากษาผูตัดสินจะตองรับบาปกรรมเพราะการตัดสินประหารชีวิตหรือไม
                               ในประเด็นขอนี้มีผูถามทานพุทธทาสภิกขุในการอบรมผูชวยผูพิพากษา รุนที่ ๑

               เมื่อพ.ศ. ๒๔๙๙ ทานพุทธทาสภิกขุตอบวา ในทางพุทธศาสนานั้นทุกคนอยูภายใตกฎแหงกรรม
               อันเดียวกัน ผูใดทํากรรมอันใดไว ดีหรือชั่ว ยอมเปนไปตามกรรมนั้น ผูพิพากษาอยูในฐานะผูชี้กรรม

               เทานั้น ยอมไมตองรับบาปกรรมใด ๆ  ทั้งสิ้น  แตทั้งนี้การชี้กรรมนั้นตองเปนไปโดยถูกตองดวย
               ถาชี้ผิด  ผูพิพากษาก็ยอมไดรับผลกรรมในการชี้กรรมผิดนั้นดวย
                                ในประเด็นขอเดียวกันนี้  ทานพุทธทาสภิกขุกลาวย้ําอีกคํารบหนึ่งในตอนทายการ

               บรรยายตามหลักสูตรอบรมผูชวยผูพิพากษา  รุนที่  ๑  วา  :
                                “อาตมาอยากจะปรับความเขาใจอีกครั้งหนึ่ง  ก็คือ  เรื่องที่เกี่ยวกับเจตนาของตุลาการ

               เจตนาที่จะพิพากษาหรือจะสั่งบังคับคดีตาง ๆ  นั้นเปนของสําคัญที่จะตองตั้งไวในฐานะเปนของบริสุทธิ์
               ที่เคยมีผูถามปญหาถึงขอที่วา  คําพิพากษาสั่งฆาคน  หรือทําใหคนตกทุกขลําบากนั้นจะมีสวนที่
               เปนวิบากกรรมอันจะสนองแกผูเปนตุลาการดวยหรือหาไม  ขอนี้อาตมาก็ไดเคยตอบไปบางแลว

               และยังอยากจะขอย้ําอีกครั้งหนึ่งวาตองถือเอา  “เจตนาเปนตัวกรรม”  หรือเปนใหญ  เจตนานั้น
               หมายถึง ความรูสึกคิดนึกหรือความตองการตามความประสงคในการที่จะทําสิ่งใด ๆ ลงไป ในที่นี้

               หมายถึง การที่จะพิพากษาอรรถคดี  และสั่งบังคับคดีลงไป  เราตองประคับประคองเจตนาของเรา
               ใหตั้งอยูในฐานะเปนเจตนาของปูชนียบุคคลแหงโลกใหเสมอไปเหมือนดังที่ไดอธิบายมาแลวขางตน
               ถาเราเปนผูบูชาอุดมคติ ตั้งอยูในอุดมคติจริง ๆ แลว ไมตองกลัวเจตนานั้นยอมจะบริสุทธิ์ผุดผองเอง

               และจะเปนการทําไปดวยมุงรักษาอุดมคติของผูรักษาความเปนธรรม หรือผูคุมครองธรรมอยูในโลกนี้
               การที่จําเลยจะตองเปนไปตามกรรม หรือตามบทบัญญัติที่อาศัยกฎเกณฑแหงความยุติธรรม
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23